ธนบัตรไทย
หนุ่มโพสต์เตือนภัย!! หลังใช้แบงค์ 100 ใหม่ จ่ายเงิน ใกล้เคียงแบงค์ 1,000 บาทมากๆ โปรดมองดีๆ ก่อนใช้จ่ายทุกครั้ง
#เตือนภัย แบงค์ 100 บาทฉบับใหม่ ใกล้เคียงแบงค์ 1000 บาทมากๆๆหลังกดเงินเมื่อเช้าคุยกับแฟนว่า เหมือนแบงค์1000 มากๆเลย มีคนไปซื้อของ 50 บาท แม่ค้า ทอนมา950 บาท บอกแม่ค้าว่า อันนี้แบงค์ 100 ระวังกันด้วยนะ ใกล้เคียงกับแบงค์ 1000 บาทจริงๆ ดูเพิ่ม
เทียบชัดๆ!! สีของ ธนบัตรใหม่ กับ ธนบัตรเก่า ต่างกันมากแค่ไหน
เอามาเทียบกันเลยจ้า ระหว่างแบงค์ 100 เก่า-ใหม่ เห็นว่าคล้ายกับแบงค์พันอีกด้วยยย *แบงค์ 100 ใหม่ และ แบงค์ 1,000 ใหม่ (ลักษณะคล้ายโฉนดที่ดิน)คือธนบัตรที่ระลึก หน้าตาแปลกๆ แต่ใช้ซื้อ-ขาย ได้ตามกฎหมายปกติเลยจ้า ดูเพิ่ม
สาวเซ็ง!! ใช้แบงค์ใหม่ซื้อของ พนักงานไม่กล้ารับ กลัวแบงค์ปลอม อีกราย เผย แบงค์พันใหญ่มาก
ครั้งแรกเอาแบ็งค์พันไปซื้อของพนักงานไม่กล้ารับกลัวเป็นแบ็งค์ปลอม(อันนี้พอเข้าใจได้ช่วงนี้กำลังรับาด) แต่วันนี้ใช้แบ็งค์ร้อยใหม่ไปซื้อพนังงานไม่กล้ารับอีก บอกว่าเป็นแบ็งสะสมไม่กล้ารับ เออทำไม่เงินข้าพเจ้าไม่มีค่าบ่หึ จังแมน 000000 คัก ต่อไปเราคงไม่กล้าเข้า เซเว่นแกใหญ่นี้อีกแล้วละ ดูเพิ่ม
มีศรัทธาต้องประกอบด้วยปัญญา
ในเทศกาลบุญกฐิน (ผ้าป่าหรืองานบุญใดๆก็ดี)นักบุญทั้งหลายควร ' งด ' เอาธนบัตรพับเป็นดอกบัวพับเป็นเกล็ดพญานาค หรือทำให้ธนบัตรเสียทรง หรือแม้แต่ในวันวาเลนไทน์ วันรับปริญญา วันอื่นๆก็ด้วย ที่มีการให้ธนบัตรเป็นของขวัญ เพราะ . . . เมื่อเอาไปฝากธนาคารธนบัตรนั้นจะใช้หมุนเวียนไม่ได้ต้องส่งเข้าคลังอย่างเดียว ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ขอความร่วมมืองดพับธนบัตรทุกชนิด ดูเพิ่ม
รู้กันหรือปล่าว?? ธนบัตรที่เราใช้กันอยู่ทุกๆวัน ผลิตมาจากอะไร ถ้าไม่รู้ต้องดู
เงินที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ ไม่ได้ทำมาจากกระดาษธรรมดานะ หลายคนอาจจะยังไม่รู้ขั้นตอนการผลิต และทำไมเราถึงผลิตธนบัตรใช้เองไม่ได้ .. วันนี้เราจะมาบอกที่มาที่ไปว่ามันผลิตมาจากไหนกันค่ะก่อนที่จะไปทำความรู้จักกับธนบัตรไทยว่าทำมาจากอะไร เรามาย้อนเวลากลับไปดูต้นกำเนิดของธนบัตรในบ้านเรากันหน่อยดีกว่าสำหรับประเทศไทยนั้นมีธนบัตรออกมาใช้เป็นครั้งแรก เมื่อพุทธศักราชตามพระราชบัญญัติธนบัตรสยามรัตนโกสินทร์ศกโดยมี.. ดูเพิ่ม
ธนบัตรชำรุดควรทำอย่างไร ชำรุดมาแลกได้มั้ย นำไปแลกคืนได้ที่ไหนบ้าง
1. หากธนบัตรนั้นฉีกขาดหรือชำรุดไม่มาก เช่นมุมใดมุมหนึ่งขาดออกไป โดยที่ส่วนที่ขาดนั้นไม่ได้หล่นหายไปไหน แนะนำให้ใช้เทปใสแปะปิดทับรอยขาดได้เลยครับ ยังสามารถใช้ชำระหนี้ หรือซื้อของได้ตามปกติ แต่วิธีนี้เหมาะสำหรับธนบัตรที่ชำรุดไม่มากนักนะครับ หากขาดหรือแหว่งไปมากๆ ไม่แนะนำให้ทำอย่างเด็ดขาด2. หากธนบัตรนั้นขาดครึ่ง หรือขาดออกจากกันจนไม่สามารถซ่อมแซมได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน ให้นำไปแลกที่ธนาคารออมสินทุกสาข.. ดูเพิ่ม
เรื่องของธนบัตร 500 บาท บังเอิญมีอะไรที่เหมือนกัน
เรื่องของธนบัตร 500 บาท บังเอิญมีอะไรที่เหมือนกัน มาสังเกตุกันเถอะครับ ธนบัตร 500 บาท แบบ 13 ภาพประธานด้านหลัง พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ณ เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ธนบัตร 500 บาท แบบที่ 14 ภาพประธานด้านหลัง พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ณ เชิงเขาแก่นจันทร์ จ.ราชบุรี ธนบัตร 500 บาท แบบที่ 16 ภาพประธานด้านหลัง พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ.. ดูเพิ่ม
เรื่องของธนบัตร 1,000 บาท แบบที่ 15 2 รุ่น
เรื่องของธนบัตร 1,000 บาท แบบที่ 15 2 รุ่น ในภาพ:นี่คือภาพที่บางคนเข้าใจผิด สรุปว่าเป็นของจริงทั้งคู่ ธนบัตรฉบับละ 1,000 บาท ทั้ง 2 นั้นเป็นของจริงทั้งคู่ แต่เป็นคนละรุ่น ภาพบนเป็นธนบัตรฉบับละ 1,000 บาท รุ่นที่ 1 ประกาศใช้เมื่อปี 2542 ส่วนภาพล่างเป็นรุ่น 2 ประกาศใช้เมื่อปี 2548 และเป็นธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ซึ่งธนบัตรฉบับละ 1,000 บาท รุ่น 1 แม้จะมีจำนวนธนบัตรหมุนเวียนอยู่ในมือประชาชนไม่มากนักก็.. ดูเพิ่ม
วิวัฒนาการธนบัตรไทย
ก่อนที่จะมีการนำธนบัตรเข้ามาใช้ร่วมกับเงินตราชนิดอื่น ๆ ในระบบการเงินของประเทศ ชนชาติไทยได้ใช้หอยเบี้ย ประกับ (ดินเผาที่มีตราประทับ) เงินพดด้วง ปี้กระเบื้อง และเหรียญกษาปณ์เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน หอยเบี้ย ประกับดินเผา เงินพดด้วง จนกระทั่งในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างชาติและเปิดเสรีทางการค้า ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้น จนไม่สามารถผลิตเงินพดด้วงซึ่งเ.. ดูเพิ่ม