โรค
โรคลืมใบหน้า (Prosopagnosia) จำหน้าคนไม่ได้ แม้แต่หน้าคนใกล้ชิด ความผิดปกติทางสมองที่ทำให้ลืมใบหน้า
โรคลืมใบหน้า หรือ ภาวะลืมใบหน้า (Prosopagnosia) หมายถึง เป็นความผิดปกติทางสมองที่ทำให้ไม่สามารถจดจำ และแยกความแตกต่างของใบหน้าได้ มักมีอาการผิดปกติตั้งแต่เกิด แต่บางคนอาจเกิดภาวะนี้หลังจากสมองได้รับความกระทบกระเทือนจากอุบัติเหตุหรือป่วยเป็นโรคทางสมอง ผู้ป่วยโรคลืมใบหน้านั้นอาจจะไม่สามารถจดจำได้แค่เฉพาะใบหน้าของมนุษย์ด้วยกัน มีบางส่วนที่อาการนั้นจะครอบคลุมไปถึงความสามารถในการจดจำ และรับรู้สิ่งต่าง.. ดูเพิ่ม
โรคการเสพติดพนัน Pathological Gambling
โรคการเสพติดการพนัน Pathological Gambling (พาโธโลจิคอล แกมบลิ้ง) องค์การอนามัยโลก WHO กำหนดให้เป็นความผิดปกติทางจิตชนิดหนึ่ง เพราะถึงเจ้าตัวรู้ว่าสิ่งที่ทำลงไปเป็นสิ่งที่ส่งผลร้ายต่อชีวิต ได้แก่ ทางด้านการเงิน การเรียน สุขภาพ สังคม แต่อดไม่ได้ที่จะไม่ทำ คล้ายการติดสารเสพติด จิตใจจดจ่ออยู่กับการพนันตลอดเวลา ไม่สามารถคิดเรื่องอื่น หรืออยากทำอย่างอื่น มีแต่ความโหยหาอยากเล่นพนันจนยากที่จะควบคุม ในที่.. ดูเพิ่ม
โรคกลัวแมว เห็นแมว แล้วมีอาการกลัวสุดขีด คุณอาจกำลังเป็น Ailurophobia
โรคกลัวแมว (Ailurophobia) จัดอยู่ในกลุ่มโรคความกลัวเฉพาะเจาะจง (Specific phobia) เป็นความรู้สึกกลัวที่เกิดขึ้นโดยไม่มีเหตุผล ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าสิ่งนั้นมันไม่ได้อันตราย ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด แต่ไม่สามารถหยุดความรู้สึกกลัวที่เกิดขึ้นได้เมื่อต้องเผชิญหน้ากับสิ่งที่เจอ โดยจะมีอาการแสดงโต้ตอบอัตโนมัติทันทีที่เจอกับสิ่งนั้น สาเหตุ ประสบการณ์ที่น่ากลัวในวัยเด็ก อาจโดนแมวกัด หรือข่วนในสมัยวัยเด็กที่ให้ร.. ดูเพิ่ม
โรคหลอกตัวเอง โกหกตัวเอง หรือ โรคโกหกเป็นนิสัย (Pathological Lying) การโกหก ก็เป็นโรคได้
โรคหลอกตัวเอง โกหกตัวเอง หรือ โรคโกหกเป็นนิสัย (Pathological Lying) เป็นสัญญาณความผิดปกติของภาวะสุขภาพจิตที่แฝงอยู่ ผู้ที่มีภาวะนี้ไม่ได้มีจุดประสงค์ที่ชัดเจน และไม่ได้รับผลประโยชน์อะไรเลยจากการโกหก ผู้ที่มีภาวะนี้ ไม่ได้สนใจผลที่ตามมาจากการโกหก เพียงแต่ห้ามไม่ได้ที่จะโกหก มักมีพฤติกรรมพูดโกหกบ่อย ๆ ประจำ จนติดเป็นนิสัย โกหกกระทั้งเรื่องเล็กน้อย ซึ่งการโกหกมักทำต่อเนื่อง ยาวนาน เป็นประจำ ทำโดยไม่.. ดูเพิ่ม
โรคหัวใจสลาย!รวดร้าวถึงตาย!
เจ็บที่ใจใครว่าไม่ถึงตาย? มารู้จักกับ "โรคหัวใจสลาย" ที่อาจคร่าชีวิตใครก็ตามที่หัวใจถูกบีบคั้น! โรคหัวใจสลาย อยู่ในกลุ่มโรค Stress Cardiomyopathy ซึ่งเป็นกลุ่มโรคหัวใจอีกชนิดหนึ่ง ยังไม่มีชื่อเรียกในภาษาไทยที่แน่นอน เช่น โรคหัวใจจากความเครียด (Stress induced cardiomyopathy) หรือ apical ballooning syndrome บางครั้งเรียกว่า “โรคอกหัก” (Broken heart syndrome) แต่ในญี่ปุ่นจะใช้ชื่อว่า Tak.. ดูเพิ่ม
ภาพสแกนอันน่าสยดสยองเผยให้เห็นผลกระทบร้ายแรงของการรับประทานไส้กรอกหมูไม่สุก
ภาพที่เพื่อนๆได้เห็นอยู่นี้นั้น เป็นภาพสแกนจากแพทย์มหาวิทยาลัยฟลอริดาเผยให้เห็นความน่ากลัวของโรคซีสติเซอร์โคซิสที่เกิดจากการกินหมูดิบ ตัวอ่อนพยาธิตืดหมูจะฝังตัวเป็นซีสต์ตามอวัยวะต่างๆ ก่อให้เกิดอาการรุนแรง เช่น ชัก ปวดหัว มองเห็นภาพซ้อน และอัมพาต หากซีสต์ไปฝังตัวในสมองอาจเสียชีวิตได้ ป้องกันได้ด้วยการปรุงอาหารให้สุกทั่วถึงเสมอนั่นเอง ซึ่งการกินหมูดิบนั้นจะทำให้เกิดโรคต่างๆได้มากมายดังต่อไปนี้เลยเ.. ดูเพิ่ม
โรคสายตาขี้เกียจ Lazy Eye (Amblyopia)
โรคสายตาขี้เกียจ Lazy Eye (Amblyopia) คือ ภาวะการมองเห็นที่ลดลงในตาข้างเดียว หรือ ทั้ง 2 ข้าง แม้จะใส่แว่นเพื่อแก้ไขค่าสายตาแล้ว เป็นความผิดปกติของพัฒนาการของการมองเห็นในทารก หรือ ช่วงวัยเด็ก สายตาขี้เกียจเกิดจากการขนส่งกระแสรับภาพระหว่างตา และ สมองทำงานไม่เต็มที่ ทำให้สมองรับภาพจากตาเพียงข้างใดข้างหนึ่งมากกว่าอีกข้าง หรือ สมองเพิกเฉยต่อการรับภาพของตาข้างที่ด้อยกว่า ทำให้การมองเห็นของตาข้างนั้นลด.. ดูเพิ่ม
แพ้เหงื่อตัวเอง
โรคแพ้เหงื่อตัวเอง หรือ โรคผื่นคันจากเหงื่อ (Cholinergic Urticaria หรือ Heat Hives) คือ โรคภูมิแพ้ผิวหนังอักเสบชนิดหนึ่ง แสดงอาการออกมาในรูปแบบผื่นคัน ตุ่มใส ลมพิษขึ้นบริเวณใบหน้า ลำคอ ข้อพับต่าง ๆ บริเวณที่เหงื่อออก และ อับชื้น อาการแพ้เหงื่อพบได้น้อยมาก มีความใกล้เคียงกับอาการทางผิวหนังอื่น ๆ ที่เกิดจากความร้อน เช่น ผื่นคัน ผดร้อน เป็นต้น ในบางรายอาจมีลมพิษเรื้อรัง โรคหอบหืด โรคจมูกอักเสบ ร่วมด.. ดูเพิ่ม
ภูมิแพ้อาหารแฝง
ความต่างของ ภูมิแพ้อาหารแฝง กับ อาการแพ้อาหาร อาการแพ้อาหาร ส่วนใหญ่จะมีอาการแบบเฉียบพลัน หรือภายใน 2-4 ชั่วโมงหลังจากรับประทานอาหารบางอย่างเข้าไปจะไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันให้ทำงานเกินกว่าปกติ เนื่องจากร่างกายเข้าใจผิดว่าสิ่งที่รับประทานเข้าไปเป็นอันตรายต่อร่างกาย จึงเกิดปฏิกิริยาแบบเฉียบพลัน และค่อนข้างรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ อย่างเช่น เกิดผื่นคันตามร่างกาย ปากบวม ตาบวม อาเจียน ท้องเสีย เกิดภา.. ดูเพิ่ม
โรคกลัวความตาย (Thanatophobia)
โรคกลัวความตาย (Thanatophobia) คือ อาการหวาดกลัว ตื่นตระหนก และวิตกกังวลรุนแรง เมื่อนึกถึง หรือ เจอเหตุการณ์เกี่ยวกับความตาย คนที่มีอาการกลัวความตายจะความคิดหมกมุ่นอยู่กับเรื่องสุขภาพ และพยายามหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความตาย ซึ่งอาการมีความรุนแรงจนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน อาการของ โรคกลัวความตาย (Thanatophobia) อาการของ โรคกลัวความตาย (Thanatophobia) นั้นรุนแรงกว่าความกังวลทั่ว.. ดูเพิ่ม
น้ำในหูไม่เท่ากัน
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน (Meniere’s disease) พบมากในผู้ที่มีอายุ 30 - 60 ปี ทั้ง ผู้หญิง และ ผู้ชาย โรคนี้เกิดจากความผิดปกติของหูชั้นในที่มีภาวะความดันน้ำในหูชั้นในที่เรียกว่า Endolymph มากผิดปกติ ส่งผลให้หูขั้นในที่มีหน้าที่ในการรับเสียง ควบคุมการทรงตัวทำงานผิดปกติ และ มีการไหลเวียนถ่ายเทเป็นปกติ เมื่อเกิดความผิดปกติขึ้น เช่น การดูดซึมของน้ำในหูไม่ดี ทำให้น้ำในหูชั้นในมีปริมาณมากกว่าปกติ จะส่ง.. ดูเพิ่ม
โรคไม่ชอบรูปร่างหน้าตาตัวเอง หรือ โรค BDD
โรค BDD (Body Dysmorphic Disorder) ในภาษาไทยเรียกได้หลายชื่อ โรคไม่ชอบรูปร่างหน้าตาตัวเอง , โรคคิดหมกมุ่นกับรูปร่างหน้าตาตัวเอง , โรคคิดหมกมุ่น ,โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ คือ ภาวะที่ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่น ไม่พึงพอใจในรูปร่าง และ หน้าตา ของตนเอง ทั้งที่ความเป็นจริงรูปร่างหน้าตาก็ดูปกติ หรือ ใกล้เคียงปกติ จัดอยู่ในกลุ่มโรคย้ำคิดย้ำทำ คือ มีอาการคิดซ้ำ ๆ ไม่พอใจ เปรียบเทียบกับผู้อื่น.. ดูเพิ่ม
โรคการเรียนรู้บกพร่อง(Learning disorder)
โรคการเรียนรู้บกพร่อง(Learning disorder : LD) เป็นความผิดปกติของกระบวนการเรียนรู้ที่แสดงออกทางด้านการอ่าน การเขียนสะกดคำ การคำนวณและเหตุผลเชิงคณิตศาสตร์ เกิดจากการทำงานที่ผิดปกติของสมอง ทำให้ผลการเรียนของเด็กต่ำกว่าศักยภาพที่แท้จริง โดยที่เด็กอาจทำไม่ได้เลย หรือทำได้ต่ำกว่าเด็กอื่นที่อายุเท่ากัน ในเด็กไทยพบได้ร้อยละ 6-10 ของเด็กวัยเรียน ลักษณะอาการ และชนิดของโรคการเรียนรู้บกพร่อง LD แบ่งเป็น 3 ด้.. ดูเพิ่ม
โรคย้ำคิดย้ำทำ
โรคย้ำคิดย้ำทำ OCD (Obsessive Compulsive Disorder) เป็นโรคทางจิตเวชชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีความไม่มั่นใจ กังวล ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นผลให้ต้องทำกิจกรรมนั้นซ้ำไปซ้ำมา เพื่อให้เกิดความสบายใจ ซึ่งผู้ป่วยก็รู้ตัวว่าสิ่งที่ตนทำอยู่นั้นไม่จำเป็น แต่ก็ไม่สามารถหยุดสิ่งที่ทำอยู่ได้ ผู้ป่วยจะไม่สามารถหักห้ามใจไม่ให้ทำได้ เมื่อทำแล้วจะทำให้รู้สึกคลายความกังวล ก่อนที่จะเริ่มกังวลใหม่อีกครั้ง และจะใช้เวลามาก ๆ.. ดูเพิ่ม
โรคขนคุด (Keratosis Pilaris)
โรคขนคุด (Keratosis Pilaris) เป็นโรคผิวหนังที่เกิดการอุดตันบริเวณรูขุมขน มีลักษณะเป็นตุ่มแข็ง ตุ่มนูน ขนาดเล็กตามรูขุมขน มีผิวแห้ง เป็นปื้นหยาบ เวลาลูบไปที่บริเวณดังกล่าวจะให้ความรู้สึกสาก ๆ มักเกิดขึ้นบริเวณแขนส่วนบน ต้นขา แก้ม และ ก้น ในบางรายมีการอักเสบเป็นตุ่มแดง คัน สาเหตุของขนคุด ขนคุด มีสาเหตุมาจากความผิดปกติในการสะสมของเคราติน (Keratin) ซึ่งการสะสมของเคราตินทำให้เกิดการอุดกั้นบริเวณรูขุมข.. ดูเพิ่ม
โรคหูดับ ความเสี่ยงจากการกินเนื้อหมูดิบ
โรคหูดับ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย สเตร็พโตค็อกคัส ซูอิส (STREPTOCOCCUS SUIS) เชื้อนี้จะอยู่ในทางเดินหายใจของหมู และ อยู่ในเลือดของหมูที่กำลังป่วย สามารถเข้าสู่ร่างกายของคนได้ 2 ทาง 1.การกินเนื้อหมู เครื่องในหมู เลือดหมู ที่ปรุงแบบดิบ หรือ กึ่งสุกกึ่งดิบ 2.การสัมผัสกับเนื้อหมู เครื่องในหมู เลือดหมู ที่ติดเชื้อจากทางบาดแผล รอยขีดข่วนตามร่างกาย เยื่อบุตา อาการของผู้ป่วยโรคหูดับ ผู้ป่วยที่ได้รับเชื้อเข้.. ดูเพิ่ม
โรคหลงตัวเอง (Narcissistic Personality Disorder หรือ NPD)
โรคหลงตัวเอง (Narcissistic Personality Disorder หรือ NPD) คือ โรคบุคลิกภาพผิดปกติชนิดหนึ่ง โดยผู้ป่วยโรคนี้จะมีลักษณะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เชื่อมั่นในตัวเองสูง ต้องการการยกยอชื่นชม ไม่ยอมรับในผู้อื่น ขาดความเห็นใจผู้อื่น มักหมกมุ่นอยู่กับการโอ้อวดตัวตนของตัวเอง และบังคับผู้อื่นให้ทำตามสิ่งที่ตนเองต้องการ อาการของโรคหลงตัวเอง โรคหลงตัวเองจะปรากฏสัญญาณ หรือ พฤติกรรมของโรค ดังนี้ มักยึดตัวเองเป็นสำ.. ดูเพิ่ม
โรคชอบเก็บสะสมสิ่งของ (Hoarding Disorder)
โรคชอบเก็บสะสมสิ่งของ (Hoarding Disorder) เป็นความผิดปกติทางจิต เป็นอาการทางจิตเวชชนิดหนึ่ง ที่มีพฤติกรรมชอบเก็บสิ่งของต่าง ๆ ไว้ โดยผู้ป่วยมักจะรู้สึกไม่สบายใจ เสียดาย หากต้องทิ้งสิ่งของที่เก็บไว้ คิดว่าของเหล่านั้นยังมีประโยชน์ที่สามารถเก็บไว้ใช้งานในอนาคตได้ สาเหตุของโรคชอบเก็บสะสมสิ่งของ โดยทั่วไปผู้ที่เป็นโรคนี้จะเริ่มมีอาการมาตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น และอาการจะแสดงชัดเจนเมื่ออายุ 30 ปีขึ้นไป เพรา.. ดูเพิ่ม
โรครองช้ำ
โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) คือ โรคที่เกิดจากการอักเสบบริเวณพังผืดใต้ฝ่าเท้า หรือ เอ็นฝ่าเท้าอักเสบ ส่วนใหญ่มักเป็นบริเวณที่พังผืดยึดกับกระดูกส้นเท้า ผู้ป่วยมักมีการเจ็บปวดบริเวณส้นเท้าเวลาลงน้ำหนัก โดยเฉพาะในช่วงแรก ๆ ของการลงน้ำหนัก เช่น ตื่นนอนตอนเช้า หรือ หลังจากการนั่งนาน ๆ แต่เมื่อเดินไปเรื่อย ๆ อาการปวดจะดีขึ้น จะเป็น ๆ หาย ๆ บางคนอาจจะเป็นเรื้อรังมากจนอาจเจ็บปวดได้ตลอดวัน สาเหตุ การใช้ง.. ดูเพิ่ม