สำรวจอวกาศ
ฐานปล่อยจรวดเพียงแห่งเดียวในภูมิภาคอาเซียน
Stasiun Peluncuran Roket (Staspro)ตั้งอยู่ที่หาด Pameungpeuk ใน Garut Regency ของ West Java เป็นสถานที่สำคัญในการปล่อยจรวดในอินโดนีเซีย สถานีนี้ทำหน้าที่เป็นแท่นปล่อย และศูนย์ควบคุมสำหรับภารกิจอวกาศต่างๆ รวมถึงการติดตั้งดาวเทียมและการทดลองวิจัยทางวิทยาศาสตร์ดำเนินการโดย สถาบันการบินและอวกาศแห่งชาติอินโดนีเซีย (LAPAN) ที่ตั้งเชิงกลยุทธ์ของหาดดังกล่าว มีข้อได้เปรียบสำหรับการปล่อยจรวดเนื่องจากอยู่ใก.. ดูเพิ่ม
หลุมดำคืออะไร และมีอยู่จริงหรือไม่ในจักรวาล
หลุมดำ (Black Hole)เป็นพื้นที่ในอวกาศที่มีแรงโน้มถ่วงแรงมากจนไม่มีสิ่งใดแม้แต่แสงจะรอดพ้นแรงดึงดูดของมันได้ตามความเข้าใจฟิสิกส์ในปัจจุบันของเรา 'หลุมดำมีอยู่จริง' หลุมดำก่อตัวขึ้นเมื่อดาวฤกษ์มวลมากยุบตัวภายใต้แรงโน้มถ่วงของตัวเองเมื่อสิ้นสุดวัฏจักรการยุบตัวนั้นรุนแรงมากจนเกิดพื้นที่ที่มีสนามโน้มถ่วงสูงมาก ภูมิภาคนี้เรียกว่าขอบฟ้าเหตุการณ์ เป็นขอบเขตที่ไม่มีอะไรสามารถหลบหนีได้ เชื่อว่าอะไรก็ตามที่.. ดูเพิ่ม
ดาวเคราะห์น้อยที่ถูกตั้งชื่อตามชื่อของคนไทย
การสำรวจดวงดาวของเหล่านักวิทยาศาสตร์ และนักดาราศาสตร์นั้นสามารถทำได้ทั้งบนอวกาศ รวมถึงบนพื้นที่เฉพาะบางส่วนบนโลก โดยการสำรวจในแต่ละครั้ง อาจจะช่วยให้ได้คำตอบบางอย่าง หรืออาจเป็นการค้นพบสิ่งใหม่ๆ โดยหนึ่งในสิ่งที่มักจะมีการค้นพบอยู่เรื่อยๆ ก็คือ 'ดาวเคราะห์น้อย' นั่นเอง ดาวเคราะห์น้อย (asteroid) คือวัตถุทางดาราศาสตร์ขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ แต่ใหญ่กว่าสะเก็ดดาว และไม่ใช่ดาวหาง การแบ่งแยกประเภทเช่นนี.. ดูเพิ่ม
หอดูดาวที่ใหญ่และทันสมัยที่สุดอันดับหนึ่งของประเทศไทย
สำหรับใครที่ชื่นชอบเกี่ยวกับเรื่องของดวงดาวหรือการสำรวจอวกาศการได้ทดลองสำรวจท้องฟ้าด้วยตาตัวเอง น่าจะถือเป็นประสบการณ์ที่ยอดเยี่ยมและถือเป็นความน่าตื่นเต้นที่คงยากจะอธิบายได้ รู้กันหรือไม่ว่าในประเทศไทยของเราก็มีหอดูดาวที่ทันสมัยระดับโลกที่พร้อมให้เราได้ร่วมพิสูจน์และสำรวจดวงดาวไปพร้อมกัน ที่นี่คือ 'หอดูดาวแห่งชาติ' (Thai National Observatory, TNO) เป็นหอดูดาวแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในอำเภอจอมทอง จังห.. ดูเพิ่ม
พายุหมุนที่มีขนาดใหญ่ยักษ์ที่สุดในระบบสุริยะจักรวาล
การเกิดพายุถือเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่พบได้ทั่วไปโดยปกติแล้วพายุที่เกิดขึ้นบนโลกมักจะเกิดขึ้นเพียงไม่นานแม้จะมีความรุนแรงเพียงใดก็ตาม ซึ่งเทียบไม่ได้เลยกับพายุใหญ่ที่เราจะพาไปทำความรู้จักกันในวันนี้ นี่คือพายุใหญ่นี้มีชื่อว่า 'จุดแดงใหญ่' (Great Red Spot)เป็นพื้นที่ความกดอากาศสูงอย่างต่อเนื่องในชั้นบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะของเรา เป็นพายุขนาดใหญ่รูปวงรีที.. ดูเพิ่ม
เศษฝุ่นสุดล้ำค่าที่มาจากพื้นผิวของดวงจันทร์
ภารกิจสำรวจห้วงอวกาศของมนุษย์มีมาอย่างยาวนานผ่านการทดลองและค้นพบความรู้ใหม่ๆมากมายหนึ่งในนั้นคือการสำรวจ 'ดวงจันทร์' ดวงดาวบริวารเพียงหนึ่งเดียวของโลก ในระหว่าง 'ภารกิจอพอลโล 17' ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2515 นักบินอวกาศได้เก็บตัวอย่างหินและดิน 741 ตัวอย่าง จากตำแหน่งต่างๆ บนพื้นผิวดวงจันทร์ รวมทั้งหุบเขาทอรัส-ลิตโทรว์ ตัวอย่างที่เก็บรวบรวมระหว่างภารกิจนี้ให้ข้อมูลเชิงลึกที่สำคัญเกี่ยวกับธรณีวิทยาและป.. ดูเพิ่ม
ดาวเทียมดวงแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ขึ้นไปโคจรรอบโลก
แม้ว่าโลกเราจะคุ้นเคยกับดาราศาสตร์มานานแล้วแต่ยุคแห่งการสำรวจเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 65 ปีที่แล้วนี่เองโดยจุดเริ่มต้นครั้งสำคัญที่สุด คือการส่งดาวเทียวดวงแรกขึ้นไปโคจรรอบโลกได้สำเร็จ ของอดีตสหภาพโซเวียตความสำเร็จในครั้งนั้นสั่นสะเทือนชาติมหาอำนาจอื่นให้เกิดการแข่งขันที่ดุเดือดขึ้นอย่างชัดเจนจนหลายฝ่ายเชื่อว่า ดาวเทียมดวงนี้แหล่ะ คือต้นทางที่แท้จริงของ 'สงครามเย็น' ดาวเทียม 'สปุตนิก 1 (Sputnik 1).. ดูเพิ่ม
ยานอวกาศที่ทำภารกิจเดินทางไกลเพื่อพามนุษย์เข้าไกล้ดาวพลูโต
ภารกิจสำรวจอวกาศของมนุษย์บนโลกถือเป็นโครงการใหญ่ที่ต้องใช้เงินลงทุนสูงมากและต้องเผชิญกับความเสี่ยงมากมายที่อาจะเกิดขึ้นได้ในระหว่างภารกิจหลายครั้งที่มนุษย์ส่งยานอวกาศออกไปสำรวจห้วงอวกาศเพื่อตามหาคำตอบบางอย่างที่อยู่ไกลออกไปมากและนี่คือเรื่องราวของยานอวกาศลำหนึ่งที่เป็นตัวแทนของพวกเราเพื่อสำรวจดวงดาวที่อยู่ห่างไกลดวงหนึ่งในระบบสุริยะของเรา นี่คือยาน 'นิวฮอไรซันส์' (New Horizons) หรือ 'ขอบฟ้าใหม่'เ.. ดูเพิ่ม
ภาพถ่ายของหลุมดำภาพแรกในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
คนที่สนใจเรื่องวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์หรือแม้แต่คนที่ชื่นชอบการดูภาพยนต์ของฝั่งฮอลลีวูดน่าจะคุ้นเคยกันดีกับคำว่า 'หลุมดำ' ซึ่งเป็นวัตถุหนึ่งในจักรวาลที่มนุษย์เราได้แต่คำนวณตามหลักฟิสิกส์อันซับซ้อนถึงการมีตัวตนอยู่จริงของมัน แต่ยังไม่มีใครเคยได้เห็นภาพจริงมาก่อนจนกระทั่งเมื่อปี 2019 มนุษย์โลกถึงได้มีโอกาสได้เห็นภาพนี้ ภาพสีส้มดำที่ดูขมุกขมัวนี้ คือภาพของ'หลุมดำมวลยวดยิ่ง' เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่.. ดูเพิ่ม
ชาวเอเชียและชาวเวียดนามคนแรกที่ได้ขึ้นไปถึงอวกาศ
การออกสำรวจอวกาศ ยังถือเป็นภารกิจใหญ่ที่หลายองค์กรหรือปีชระเทศให้ความสนใจ และใช้เงินลงทุนรวมถึงมีการวิจัยพัฒนากันอย่างจริงจัง โดยหนึ่งในองค์ประกอบที่เป็นส่วนสำคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งของโครงการสำรวจอวกาศก็คือตำแหน่ง 'นักบินอวกาศ' ซึ่งถือเป็นอาชีพที่ท้าทายและเสียงอันตรายมาก นักบินอวกาศ (Astronaut)คือบุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ใน.. ดูเพิ่ม
กล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ใช้ทุนสร้างสูงที่สุดในประวัติศาสตร์
เป็นที่รู้กันดีว่าโครงการที่เกี่ยวกับอวกาศจะมีต้นทุนการสร้างที่สูงมาก จนอาจจะเป็นเรื่องยากและอาจทำให้โครงการต่างๆนั้นล่าช้ากว่ากำหนดได้ที่ผ่านมาโลกของเรามีหน่วยงานที่ทุ่มเทเพื่อวิจัยและทำการสำรวจอวกาศอย่างจริงจังอยู่มากมายโดยหนึ่งในหน่วยงานที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดก็คือ NASAของสหรัฐอเมริกา รวมถึงองค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA และเมื่อไม่นานมานี้เอง ที่ผู้คนทั่วโลกได้ร่วมรับชมบรรยากาศภาพการถ่ายทอดสดกา.. ดูเพิ่ม
วัตถุโดยฝีมือมนุษย์ที่เคลื่อนที่ได้เร็วมากอย่างน่าทึ่ง
เป็นที่รู้กันว่าอวกาศเป็นสถานที่ที่กว้างใหญ่มากการออกเดินทางเพื่อสำรวจหรือหาคำตอบบางอย่างเลยจำเป็นต้องลงทุนและใช้เวลาในการวิจัยพัฒนาอย่างมหาศาลในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา หน่วยงานด้านอวกาศของประเทศชั้นนำต่างพากันผลิตยานอวกาศรุ่นต่างๆมากมาย เพื่อส่งออกไปสำรวจและไขปริศนาอันดำมืดของห้วงจักรวาล ยานอวกาศหลายลำก็ได้ช่วยหาคำตอบสำคัญที่มนุษย์สงสัยกันมานานนับพันปี หนึ่งในยานอวกาศรุ่นที่เป็นที่สนใจมากที่สุดคื.. ดูเพิ่ม
ภูเขาไฟลูกที่สูงเป็นอันดับหนึ่งในระบบสุริยะจักรวาล
หลายคนน่าจะจำกันได้ ว่า 'ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก'คือยอดเขาที่ชื่อว่าอะไร อยู่ที่ประเทศอะไร หรือมีความสูงแค่ไหนเพราะถือเป็นข้อมูลพื้นฐานที่มีปรากฏอยู่ในสื่อหรือตำราเรียนทั่วไปหลายคนอาจจะนึกจินตนาการถึงความสูงใหญ่ของยอดเขาที่สูงที่สุดในโลกว่าจะมีความสูงตระหง่านน่าเกรงขามมากแค่ไหน แต่นั่นอาจจะเทียบไม่ได้เลยกับความสูงของ 'ยอดเขาโอลิมปัส' ยอดภูเขาไฟใหญ่ยักษ์บนดาวอังคาร ภูเขาไฟโอลิมปัส (Olympus Mons) เ.. ดูเพิ่ม
ปี 2021 คือปีแห่งการสำรวจอวกาศ
เรามาเริ่มกันที่ โครงการอาร์ทีมิส (Artemis) กับการส่งนักบินอวกาศไปสู่ดวงจันทร์ภายในปี 2567 ซึ่งเป็นความร่วมมือระดับนานาชาตินำโดยองค์การนาซา เตรียมทำภารกิจแรก-อาร์ทีมิส 1 (Artemis 1) ด้วยการส่งยานอวกาศโอไรอันขึ้นสู่อวกาศด้วยจรวด Nasa Space Launch System ภารกิจอาร์ทีมิส 1 มีกำหนดปฏิบัติการช่วงปลายปี 2564 นี้ ไปกันต่ออีกภารกิจที่ตอนนี้มีหลายชาติให้ความสนใจพากันปักหมุดจุดหมายปลายทางก็คือ ดาวอังคาร ซึ.. ดูเพิ่ม
ดวงจันทร์ไททัน หนึ่งในการสำรวจดวงดาวเอื้ออาศัย
ดวงจันทร์ไททัน หนึ่งในดาวบริวารของดาวเสาร์ จัดว่าเป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ในระบบสุริยะของเรา มีก๊าซมีเทนหนาทึบปกคลุมพื้นผิว ซึ่งอำพรางลักษณะทางธรณีวิทยาที่สำคัญ การสำรวจของยานอวกาศแคสสินี ที่โคจรรอบดาวเสาร์ระหว่างปี 2547-2560 นอกจากจะได้ข้อมูลของดาวเสาร์แล้ว ก็ยังพ่วงข้อมูลของดวงจันทร์บริวารมาด้วย โดยเฉพาะดวงจันทร์ไททัน ความลับของไททันจึงท้าทายการค้นหาของนักวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมากครับ ล่า.. ดูเพิ่ม
Wow! signal อาจถูกส่งสัญญาณมาจาก กลุ่มดาวคนถือธนู
เหตุการณ์ในวันที่ 15 สิงหาคม ปี 1977 กล้องโทรทรรศน์วิทยุบิ๊กเอียร์ (Big Ear radio telescope) ในรัฐโอไฮโอของสหรัฐฯ สามารถตรวจจับสัญญาณวิทยุกำลังสูงในย่านความถี่แคบจากห้วงอวกาศได้เป็นเวลา 72 วินาที ซึ่งผลวิเคราะห์เทียบเคียงกับสัญญาณจากนอกโลกอื่น ๆ ชี้ว่า สัญญาณนี้มีความเป็นไปได้สูงสุดในประวัติศาสตร์ ที่จะเป็นการสื่อสารจากมนุษย์ต่างดาว ภาพถ่ายบางส่วนของกลุ่มดาวคนถือธนูหรือซาจิตทาเรียส บันทึกไว้โดยกล.. ดูเพิ่ม
ภารกิจ Falcon 9 ครั้งที่ 100
เที่ยวบินในวันนี้ถือเป็นการเปิดตัว SpaceX ครั้งที่ 23 ของปี 2020 ซึ่งเป็นปีที่ บริษัท เปิดตัวมากที่สุด (บันทึกก่อนหน้านี้ตั้งไว้ในปี 2018 เมื่อ บริษัท เปิดตัว 21 ครั้ง) เที่ยวบินดังกล่าวยังนับเป็นการปล่อยจรวด Falcon 9 ครั้งที่ 100 เมื่อเดือนที่แล้ว บริษัท การบินและอวกาศที่ตั้งอยู่ในแคลิฟอร์เนียบรรลุเป้าหมายครบรอบ 100 ปี ของเที่ยวบินสำหรับจรวด Falcon ซึ่งรวมถึง Falcon 1 และ Falcon Heavy บริษัท ได้.. ดูเพิ่ม
NASA เปิดใช้ DSS-43 ติดต่อยาน Voyager 2 ได้เป็นครั้งแรกหลังจากปิดปรับปรุงเมื่อเดือน มี.ค. ที่ผ่านมา
อัพเดทเรื่องราวการปฏิบัติการของ NASA โดย NASA เปิดเผยว่าเมื่อ 29 ตุลาคมได้ใช้จาน DSS-43 ส่งคำสั่งไปยังยานสำรวจ Voyager 2 ที่อยู่ห่างจากโลก 11,600 ล้านไมล์ (18,600 ล้านกม.) และได้รับการติดต่อกลับมาเป็นครั้งแรกหลังจากที่ปิดอัปเกรดเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา โดยการสื่อสารใช้เวลาส่ง 17 ชั่วโมงและรับ 17 ชั่วโมง ต้นเดือนมีนาคม NASA ได้ปิดสถานี DSS-43 เพื่ออัปเกรดกรวยย่านความถี่ X-band ใหม่ที่ทำให้เครื่อง.. ดูเพิ่ม
อาจมีอารยธรรมต่างดาว ที่ทรงภูมิปัญญา 36 แห่งในกาแล็กซี่ทางช้างเผือก
“สิ่งมีชีวิตที่ทรงภูมิปัญญาจะมีพัฒนาการบนดาวเคราะห์นอกระบบในทิศทางที่คล้ายกับบนโลกมนุษย์” นั่นจึงเป็นเหตุผลให้ ทอม เวสต์บี และ คริสโตเฟอร์ คอนเซไลซ์ 2 นักดาราศาสตร์จากสถาบันฟิสิกส์และดาราศาสตร์ มหาวิทยาลัยน็อตนิงแฮม ได้เริ่มทำงานวิจัยเกี่ยวกับการประเมินความเป็นไปได้ที่จะมีอารยธรรมที่ทรงภูมิปัญญาในระดับสื่อสารได้ (CETI) ภายในทางช้างเผือกของเรา ผลจากการศึกษาพบว่า มีความเป็นไปได้ที่จะมีอ.. ดูเพิ่ม
ยานอวกาศแคสสินีถ่ายภาพดาวเสาร์ที่มีโลกมาให้ดูใหม่
นาซาได้เปิดตัวภาพถ่ายดาวเสาร์จากยานอวกาศแคสสินี เป็นครั้งแรกในการถ่ายภาพที่ภายในภาพมีวงแหวนและบริวารของดาวเสาร์ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ได้ทั้งหมด ภาพถ่ายดาวเสาร์จากยานอวกาศแคสสินี ภาพโดย NASA/JPL-Caltech/SSI ในวันที่ 19 กรกฏาคม 2556 ยานอวกาศแคสสินีได้เคลี่อนเข้าไปในเงาของดาวเสาร์แล้วหันกล้องกลับมาเพื่อถ่ายภาพดาวเสาร์จากด้านหลังทำให้เห็นวงแหวนพร้อมทั้งบริวารทั้ง 7 ดวงของดาวเสาร์ แสงจากดวงอาทิตย์.. ดูเพิ่ม