climate change
ข้อคิดเห็น: อะไรคือเบื้องหลังความเฟื่องฟูของพลังงานหมุนเวียนในประเทศจีน
บทความ โดย Erin Newport © Greenpeace / Zhiyong Fu อุตสาหกรรมพลังงานลมและแสงอาทิตย์ของประเทศจีนนั้นถูกวางโครงการไว้ว่าจะขยายตัวเพิ่ม 5 เท่า ภายในปี 2573 โดยจะแทนที่แหล่งพลังงานฟอสซิลเทียบเท่ากับประมาณ 300 ล้านตันของมาตรฐานปริมาณถ่านหิน และจะสามารถประหยัดน้ำได้มากเทียบเท่ากับความต้องการของคน 200 ล้านคน ตามรายงานล่าสุด แต่กระนั้นการเปลี่ยนผ่านทางด้านพลังงานของจีนยังคงไม่สิ้นสุด ปริมาณการใช้พลังง.. ดูเพิ่ม
ความรุนแรงของภาวะโลกร้อนที่พบได้จากปรากฏการณ์เอลนีโญ
เขียน โดย แอรอน เกรย์-บล็อค ปรากฎการณ์เอลนีโญในปีที่ผ่านมาส่งผลให้เกิดพายุเฮอริเคนแพทริเซียที่ใหญ่ที่สุดซึ่งทำลายสถิติที่เคยบันทึกไว้ พายุลูกดังกล่าวอาจสร้างความเสียหายต่อป่าพรุและทำให้เกิดไฟป่าที่เลวร้ายที่สุดอย่างกระทันหันในอินโดนีเซียซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจเป็นเพียงแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น พายุเฮอริเคนแพทริเซียเคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝั่งแปซิฟิกของเม็กซิโก [ตุลาคม พ.ศ. 2558] โลกเผชิญกับปรากฎการณ์เอ.. ดูเพิ่ม
สัมภาษณ์(ผู้เชี่ยวชาญ)หมีขั้วโลก
เขียน โดย Larissa Beumer มาร่วมกัน เรียนรู้เกี่ยวกับหมีขั้วโลกที่แสนมหัศจรรย์จากนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาหมีขั้วโลกมาหลายทศวรรษ Thor S. Larsen ผู้ริเริ่มการวิจัยหมีขั้วโลก เขาทำงานในสาขาวิชาการตั้งแต่ พ.ศ.2508 ที่ Norwegian Polar Institute จากนั้นเขาก็กลายเป็นสมาชิกของ สหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (IUCN) และเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเรื่องหมีขั้วโลก (Polar Bear Specialist) เมื่อ พ.ศ.2511 ถึง พ.. ดูเพิ่ม
ภาพยนตร์สิ่งแวดล้อมที่คนรักษ์โลกจะต้องชอบ
เขียน โดย Shuk-Wah Chung การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล ภัยแล้งรุนแรง พายุภัยพิบัติ ผู้คนโหยหาอาหาร สิ่งเหล่านี้ดูเหมือนฉากหลังของภาพยนตร์เกี่ยวกับโลกหลังหายนะ แต่นี้คือสถานการณ์จริงจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่เกิดขึ้นจริงอยู่ในขณะนี้ “วิกฤตโลกร้อนกำลังเกิดขึ้นจริง และกำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะนี้” ลีโอนาร์โด ดิคาปิโอ เจ้าของรางวัลออสการ์สาขาดารานำชาย และนักสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจ.. ดูเพิ่ม
2558 ปีที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นทั่วโลก
เขียน โดย รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ นักวิทยาศาสตร์ได้เผยว่าปี 2558 ที่ผ่านมา เป็นปีที่ร้อนที่สุดที่ได้รับการบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2423โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้น 0.9 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกก่อนยุคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นอีกครั้งที่สถิติของปีที่แล้วถูกทำลายไป ไม่ใช่เพียงแค่อากาศเท่านั้นที่ร้อนขึ้น อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่สูงขึ้นยังหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน.. ดูเพิ่ม
หรือปี 2559 จะเป็นปีที่เรายุติยุคถ่านหินได้…?
ผู้เขียน Kelly Mitchell / แปลโดย รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ ขณะที่เรากำลังเริ่มต้นปี 2559 ประเทศจีนและสหรัฐอเมริกาในฐานะที่เป็นผู้ผลิตถ่านหินรายใหญ่ที่สุดของโลกก็ได้เริ่มต้นสร้างการเปลี่ยนแปลงด้วยการลดการใช้พลังงานถ่านหิน จึงทำให้เราเริ่มตั้งคำถามว่า หรือปี 2559 นี้จะเป็นปีที่เรายุติยุคถ่านหินได้…? เป็นเวลาหลายร้อยปีมาแล้วที่โลกได้ “เสพติด” พลังงานถ่านหิน และโรงไฟฟ้าถ่านหินก็ยังคง.. ดูเพิ่ม