PrEP
ผลข้างเคียง PrEP ที่พบบ่อย
PrEP ย่อมาจาก Pre-Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนสัมผัสเชื้อ PrEP ประกอบด้วยตัวยาสองตัวคือ Tenofovir (TDF) และ Emtricitabine (FTC) ซึ่งทำหน้าที่ยับยั้งการจำลองตัวของไวรัส HIV ในเซลล์ PrEP มีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันการติดเชื้อไวรัส HIV เกือบ 100% อย่างไรก็ตาม เพร็พ (PrEP) มีผลข้างเคียงได้บ้าง แต่ส่วนใหญ่มักไม่รุนแรงและหายไปได้เองภายในไม่กี่วันหรือไม่กี่สัปดาห์ .. ดูเพิ่ม
สาระน่ารู้เกี่ยวกับ"เอชไอวี"
เอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus) เป็นไวรัสที่ทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายอ่อนแอ เอชไอวีสามารถแพร่กระจายได้ผ่านการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน การสัมผัสเลือดที่ปนเปื้อน เอชไอวีไม่สามารถแพร่กระจายผ่านการสัมผัสทางผิวหนัง หรือการใช้ห้องน้ำร่วมกันได้ ในปัจจุบันเอชไอวี ยังไม่มียารักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมได้ด้วยการรับประทานยาต้านไวรัส ยาต้านจะทำงานโดย.. ดูเพิ่ม
PrEP วันละเม็ด ป้องกัน HIV
PrEP ย่อมาจาก Pre-Exposure Prophylaxis คือยาต้านไวรัส "ก่อน" สัมผัสเชื้อ HIV เหมาะสำหรับบุคคลที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน ผู้ที่เปลี่ยนคู่นอนบ่อย ผู้ที่คู่นอนมีเชื้อHIV ชายรักชาย สาวประเภทสอง เป็นต้น โดยจะต้องทาน PrEP วันละ 1 เม็ด เป็นประจำทุกวัน(ต้องทานเวลาเดิม) จากการศึกษาวิจัยพบว่า PrEP สามารถป้องกันการติดเชื้อHIV ได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากกว่า 90% โดยในป.. ดูเพิ่ม
วิธีการทานยา PrEP (เพร็พ) มีกี่แบบ ??
PrEP (เพร็พ) Pre-exposure prophylaxis ยาต้านไวรัสเอชไอวี “ก่อน” สัมผัสเชื้อ สำหรับผู้ที่ไม่มีเชื้อเอชไอวี ใช้เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี โดยการทานยา PrEP (เพร็พ) มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ (PrEP Daily) แบบรายวัน ทานติดต่อกัน 7 วัน ก่อนมีเพศสัมพันธ์ ทานวันละ 1 เม็ด ทานอย่างต่อเนื่องและตรงเวลา อย่างน้อย 30 วัน **เหมาะสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงอยู่เป็นประจำ** (PrEP On Demand) แบบตาม.. ดูเพิ่ม
PEP&PrEP ไม่เหมือนกันยังไง ต้องดู!!
PEP&PrEP ไม่เหมือนกันยังไง ต้องดู! PEP กับ PrEP เป็นยาที่ ใช้ป้องกันเชื้อ HIV ไม่ให้เข้าสู่ร่างกาย ใช้ในกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ มีผลการวิจัยว่า PEP สามารถช่วยป้องกันได้ถึง 80% ส่วน PrEP สามารถป้องกันการติดเชื้อได้มากกว่า 90% เลยทีเดียว อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ PEP กับ PrEP ดูมีการทำงานที่คล้ายกัน แต่ที่จริงแล้วก็มีความต่างในการใช้งานยาทั้งสองตัวอยู่ ควรศึกษาข้อมูลก่อนการใช้งานนะครับ -.. ดูเพิ่ม
เปิดรับอาสาสมัครถึงสิ้นเดือนสิงหาคม 2562 ฟรี! ตรวจเลือดหาการติดเชื้อ HIV และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทุกๆ 3 เดือน หรือ รับยาเพร็พ (PrEP) ฟรี! ทุกเดือน ตลอดระยะเวลา 1 ปี
โครงการวิจัยการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ด้วยยา เพร็พ (PrEP) ในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ หากมีคุณสมบัติดังนี้ - สัญชาติไทย - อายุ 18 - 26 ปี - เป็นชายหรือสาวประเภทสองที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย - ไม่มีเชื้อเอชไอวี สามารถเลือก กิน หรือ ไม่กินยาเพร็พ (PrEP) ก็ได้ ท่านจะได้รับ - การตรวจ HIV และ STI ฟรี - คำปรึกษาและส่งต่อเพื่อการรักษา - ค่าเดินทางและค่าเสียเวลา สนใจติดต่อ คลินิกชุมชนสีลม @ทรอปเมด (เกด) 092-254-7.. ดูเพิ่ม