Khmer

เขมรอาย! สนามบินใหม่เสียมราฐ กลายเป็นที่ปิกนิกของชาวบ้าน
สนามบินใหม่เขมรส่งเสริมการท่องเที่ยวได้ดีมาก คนเขมรตื่นเต้น จูงลูกจูงหลาน แห่ไปเที่ยว ขึ้นลงบันไดเลื่อน ตั้งวงปิกนิกหุงข้าวกินอาหารอย่างคึกคัก ในสนามบินใหม่เสียมราฐ มีเรื่องให้ได้ชาวเน็ตไทยได้สนุกทุกวันกับความไร้เดียวสาของประเทศเพื่อนบ้าน ถึงแม้จะเข้าใจดีอยู่แล้วว่าเพิ่งเคยมีก็เลยเห่อมากเป็นธรรมดา แต่การแสดงออกและตรรกะของชาวกัมพูชาที่ทั้งน่าเอ็นดูและแอบขำเล็กๆ ในพฤติกรรมที่ดูแปลกมากหากเทียบกับไทย .. ดูเพิ่ม

“ตำราครูช่างไทย - ตำราครูช่างเขมร”
‼️“ตำราครูช่างไทย - ตำราครูช่างเขมร” 📍โพสที่แล้ว เราพูดถึง “ครูช่าง” ไม่ใช่แค่เรื่อง ‘ยุคศิลปะ’ แต่คนเขมรมาเมนต์-แชร์ไปในทางเดียวกันหมดว่า“มันเป็น ‘ศิลปะเขมร’ อังกอร์เกิดก่อนประเทศเสียมเกิดอีก!” 📍คือ ต่อให้ถามว่า “ลายสมัยไหน?” มันก็ตอบผิดกันอยู่ดี เพราะคำตอบที่ถูก คือ “ลายไทย-ทวาราวดี / กระหนกไทยสมัยรัตนโกสินทร์” .. ดูเพิ่ม

Cambodia Post-Angkor Period AD 1431-1863 🇰🇭
Cambodia Post-Angkor Period AD 1431-1863 The post-Angkor period of Cambodia (Khmer: ប្រទេសកម្ពុជាក្រោយសម័យអង្គរ), also called the Middle Period and Dark Age, refers to the historical era from the early 15th century to 1863, the beginning of the French Protectorate of Cambodia. As reliable sources (for the 15th and 16th centuries, in particular) are very rare, a defensible and conclusive explanatio.. ดูเพิ่ม

อังกอร์บิวตี้ซาลอนร้านเสริมสวยยุคโบราณแห่งเมืองพระนคร
จากเฟสบุ๊คชาวกัมพูชาท่านหนึ่ง ได้กล่าวไว้ยุคพระนครในดินแดนกัมพูชา ซึ่งมีสาวงามจำนวนมาก ผู้หญิงเมื่ออยู่ที่ไหนก็ไม่พ้นเรื่องสวยๆงามๆ ดังนั้นการเสริมเสริมสวยเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับสาวๆชาวอังกอร์ จากรูปสลักนครวัดได้แสดงให้เห็นว่าสตรีในยุคพันปีมีการดูแลเรือนร่างและเสริมความงามอย่างไร อาทิ ไม่ว่าจะ นวดหน้า หวีผม ทำผมทรงต่างๆๆ แต่งหน้า เขียนตา การใช้เตียงสระผม ส่องกระจก ถอนขนรักแร้ ที่แสดงถึงความรุ่ง.. ดูเพิ่ม

Cambodia history.หลักฐานที่เรียกชาวกัมพูชาว่า "เขมร " Khmer history.
...หลักฐานที่เรียกชาวกัมพูชาว่า "เขมร "เก่าที่สุด คือ ศิลาจารึก Ka. 64 ซึ่งเป็นศิลาจารึกสมัยก่อนเมืองพระนครวัด อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวถึงทาสชาวเขมรโบราณไว้ว่า “(๑๓) กฺญุม เกฺมร โฆ โต ๒๐. ๒๐. ๗ เทร สิ ๒” คำว่า กฺญุม ในภาษาขอมโบราณสมัยก่อนพระนครหมายถึง ข้ารับใช้ ส่วนคำว่า เกฺมร (kmer) เมื่อรวมความหมายของคำว่า “กฺญุม เกฺมร” แล้ว จึงน่าจะแปลว่า “ข้ารับใช้ (ที่เป็น).. ดูเพิ่ม