6ตุลา
“โอม ค็อกเทล” ขึ้นเวทีรำลึก 6 ตุลา หวังไม่เกิดซ้ำ ย้ำชีวิตเป็นของเรา
เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ที่ลานคนเมือง หน้าศาลาว่าการ กทม. เสาชิงช้า กลุ่ม October to Remember ร่วมกับกลุ่มศิลปะปลดแอกและเครือข่าย จัดกิจกรรม “6 ตุลา หวังว่าเสียงลมจะพาล่องไป” เพื่อรำลึกการครบรอบ 46 ปี เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2510 โดยมีการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ตั้งแต่เวลาก่อน 14.00 น. กระทั่งเวลาราว 15.20 น. ฝนตกลงมาอย่างหนัก ผู้ร่วมกิจกรรมพากันกางร่ม โดยยังคงปักหลักที่ลานคนเมือง จากนั้นศิลปินชื่.. ดูเพิ่ม
ชมคลิป!! เหตุการณ์ 6 ต.ค. 2519 ไม่ใช่เรื่องที่อยู่ดีๆ ก็เกิดขึ้นมาเอง แต่บรรยากาศสังคมไทยช่วงนั้น 'บ่มเพาะ'
เหตุการณ์ 6 ต.ค. 2519 ไม่ใช่เรื่องที่อยู่ดีๆ ก็เกิดขึ้นมาเอง แต่บรรยากาศสังคมไทยช่วงนั้น 'บ่มเพาะ' อารมณ์-ความรู้สึกของคนแต่ละกลุ่ม ผ่านข้อกล่าวหาและการป้ายสีขั้วตรงข้ามมาได้ระยะหนึ่งแล้ว เหตุการณ์ 6 ตุลา (พ.ศ. 2519) เป็นการปราบปรามอย่างรุนแรงถึงชีวิตของตำรวจและการลงประชาทัณฑ์ของกำลังกึ่งทหารและคนมุงฝ่ายขวาต่อนักศึกษาและผู้ประท้วงฝ่ายซ้ายในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสน.. ดูเพิ่ม
อดีต ผอ.ทีวีช่องดัง เผยภาพ 6 ตุลา 19 ที่ช่องอื่นไม่กล้านำเสนอความจริง
หมอ อั้ม อิราวัต โพสต์เรื่องราว เนื้อข่าวจริงๆที่เกิดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 ซึ่งคุณสรรพศิริ วิริยะศิริ ผอ.สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 แบกกล้องออกถ่ายจากเหตุการที่สนามหลวง และในรั้วธรรมศษสตร์ นำออกมาเปิดเผยทางสื่อช่อง 9 เพียงช่องเดียว ทีวีช่องอื่นมีภาพข่าวเหล่านี้เหมือนกันแต่ไม่กล้านำเสนอความจริง จากนั้นไม่นานคุณสีีพศิริ ก็ถูกปลดออกจากตำแหน่ง ผอ.โทรทัศน์ช่อง 9 ความริยำของการบริหารปกครองประเทศในอดี.. ดูเพิ่ม
สโมสรนิสิตรัฐศาสตร์ จุฬาฯ จัดใหญ่ ขึ้นป้ายเราไม่ลืม... รำลึก 6 ตุลาฯ จามจุรีสแควร์
ผ่านมา 44 ปี สำหรับเหตุการณ์ล้อมปราบนักศึกษาและประชาชนภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ 6 ตุลา 2519 ทว่าประวัติศาสตร์หน้านี้ยังมืดมิด ไม่ถูกชำระสะสางอย่างจริงจัง ปริศนาที่ว่าใครคือผู้บงการยังไม่คลี่คลาย ผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 7 ราย จาก 45 รายยังไม่อาจระบุตัวตนได้ สโมสรนิสิตรัฐศาสตร์ จุฬาฯ จัดใหญ่ ขึ้นป้ายเราไม่ลืม... รำลึก 6 ตุลาฯ จามจุรีสแควร์ วิชิตชัย อมรกุล และ ดร.บุญสนอง บุณโยทยาน ศิษย์เก่าคณะรั.. ดูเพิ่ม
ย้อนรอยเหตุการณ์ 6 ตุลา การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เหตุการณ์ 6 ตุลา (พ.ศ. 2519) หรือในภาษาอังกฤษเรียกชื่อเชิงพรรณนาว่า การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อังกฤษ: Thammasat (University) massacre) เป็นการปราบปรามอย่างรุนแรงถึงชีวิตของตำรวจและการลงประชาทัณฑ์ของกำลังกึ่งทหารและคนมุงฝ่ายขวาต่อนักศึกษาและผู้ประท้วงฝ่ายซ้ายในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง เป็นการปิดฉากการประท้วง การเดินขบวนและการยึดพื้นที่มหาวิทยาลัย.. ดูเพิ่ม