หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม แต่งรูป คำคม Glitter สเปซ ไดอารี่ เกมถอดรหัสภาพ เกม วิดีโอ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ

โครงสร้างพื้นฐาน

ทางพิเศษสายแรก ที่ก่อสร้างเสร็จและเปิดใช้งานในประเทศไทย
ทางพิเศษ หรือ ทางเก็บค่าผ่าน (toll way)เป็นถนนที่สร้างโดยรัฐบาลหรือเอกชน (ในปัจจุบันมักเป็นถนนประเภททางด่วน)ซึ่งผู้ใช้เส้นทางจำเป็นจะต้องจ่ายค่าธรรมเนียม ค่าผ่านทางนี้ทำหน้าที่เปรียบเสมือนกับภาษีที่รัฐจัดเก็บมาจากผู้ใช้ โดยนำไปก่อสร้างหรือทำนุบำรุงถนนที่เก็บค่าผ่านทาง ซึ่งไม่จำเป็นจะต้องขึ้นภาษีหรือนำภาษีของผู้ที่ไม่ได้ใช้ถนนที่เก็บค่าผ่านทางมาดำเนินงานโดยทางพิเศษสายแรกที่ถูกสร้างขึ้นและเปิดใช้งา.. ดูเพิ่ม
ประเทศที่มีโครงสร้างพื้นฐานของถนนดีที่สุดในเอเซีย.
หากจะพูดถึงระบบโครงสร้างพื้นฐานของถนนดีที่สุดในเอเซียแล้วประเทศสิงคโปร์ถือเป็นประเทศหนึ่งที่อยู่ในอันดับต้นๆ ของเอเชียและเป็นอันดับสองของโลกในด้านโครงสร้างพื้นฐานของถนนในประเทศ ตามมาด้วยญี่ปุ่นและไต้หวันซึ่งมีถนนที่ได้รับการดูแลอย่างดีพอๆ กันอันดับที่ 5 และ 11 ตามลำดับ เกาหลีใต้และมาเลเซียอยู่ในอันดับที่ 14 และ 20 ตามลำดับในประเทศที่มีถนนที่ดีที่สุดในเอเชีย จีนอยู่อันดับที่ 39 ของโลก มีถนนที่ดีเน.. ดูเพิ่ม
โครงการรถไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ที่สร้างเสร็จและเปิดใช้งานในประเทศลาว
Boten–Vientiane railway (ทางรถไฟสายเวียงจันทน์–บ่อเต็น)หรือที่รู้จักในชื่อทางรถไฟจีน-ลาว เป็นโครงการโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ที่เชื่อมโยงระหว่างเมืองบ่อเตน ทางตอนเหนือของลาว กับเมืองหลวงเวียงจันทน์ ทางรถไฟสายนี้เป็นองค์ประกอบสำคัญของโครงการริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางของประเทศจีน ซึ่งออกแบบมาเพื่อเพิ่มการเชื่อมต่อในระดับภูมิภาค และอำนวยความสะดวกทางการค้าระหว่างจีน และประเทศอื่น ๆในพื้น.. ดูเพิ่ม
ประเทศที่มีถนนน้อยและสั้นที่สุดอันดับหนึ่งของโลก
ประเทศที่มีระบบเครือข่ายถนนสั้นที่สุดในโลก ประเทศตูวาลูความยาวถนนรวมทั้งประเทศ รวม 8 กิโลเมตรตูวาลูเป็นประเทศเกาะเล็กๆ ที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ประกอบด้วยอะทอลล์และเกาะแนวปะการังซึ่งรวมกัน ครอบคลุมพื้นที่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น เนื่องจากขนาดและข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ ตูวาลูจึงมีเครือข่ายถนนค่อนข้างจำกัด ถนนสายนี้ให้บริการเชื่อมต่อหมู่บ้านและสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นต่างๆ อย่างไรก็ตาม โครงข่ายถน.. ดูเพิ่ม
ทางหลวงที่มีความยาวมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย
ทางหลวงที่มีระยะทางมากที่สุดในไทย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 หรือถนนเพชรเกษมระยะทาง 1,270.44 กิโลเมตรเป็นทางหลวงที่ยาวที่สุดในประเทศไทย โดยเริ่มจากสะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่)สิ้นสุดที่จุดผ่านถาวรสะเดา ณ อ.สะเดา จ.สงขลา ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 หรือ ถนนพหลโยธินระยะทาง 970.919 กิโลเมตรทางหลวงนี้เริ่มจากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิไปทางทิศเหนือโดยทางหลวงสายนี้จะมีรถไฟฟ้า BTS ซ้อนทับอยู่ตั้งแต่อนุสาวรี.. ดูเพิ่ม
ทางด่วนสายสำคัญที่มีความยาวมากที่สุดในประเทศไทย
สำหรับคนที่ต้องขับรถเป็นประจำในเขตเมืองอย่างกรุงเทพจะต้องคุ้นเคยกันดีกับคำว่า 'ทางด่วน' หรือทางพิเศษที่มีการเก็บเงินที่ช่วยให้เราเดินทางได้เร็วขึ้นในบางเส้นทาง 'ทางด่วน'เป็นถนนที่เก็บค่าผ่านทาง มีการควบคุมจุดเข้าออกของรถยนต์แบ่งออกเป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่กำกับดูแลโดยกรมทางหลวง และทางพิเศษที่กำกับดูแลโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ดำเนินงานโดยบริษัททางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพปัจจุบันทางด่วนที่เปิ.. ดูเพิ่ม
<<-ต่างชาติทึ่ง !!! โครงสร้างพื้นฐานของไทยสุดยอดในอาเซียน->>
กรณี “เพจอาเซียน” ได้มีการชื่นชมโครงสร้างพื้นฐานของไทย เป็นเรื่องที่น่าประทับใจเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐาน ซึ่งไทยมีคะแนนโครงสร้างพื้นฐานจากดัชนีประสิทธิภาพโลจิสติกส์ (LPI 2023) ที่รายงานโดยธนาคารโลก สูงเป็นอันดับ 25 ของโลกแม้ว่าลำดับที่ดังกล่าวจะขยับขึ้นลงไม่แน่นอนแต่ก็อยู่ประมาณนี้เหมือนกับประเทศอื่นทั่วโลก ยกเว้นสิงคโปร์ที่ยังคงยืนที่ 1 ตลอดหลายปีที่ผ่านมาเพราะลักษ.. ดูเพิ่ม
ทุนยักษ์ งับทุกโครงสร้างพื้นฐาน
ช่วงนี้มีข่าวในกระแสที่สำคัญเกี่ยวกับเงินในกระเป๋าของประชาชนไปจนถึงความมั่นคงของชาติ ที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องกันอยู่ 2 เรื่อง เรื่องแรกการประมูลวงโคจรดาวเทียม ที่กสทช. กำลังจะประกาศผู้ผ่านคุณสมบัติเข้าร่วมประมูลได้ ซึ่งหมอวรงค์และพันธมิตรยังคงเดินหน้าคัดค้านการประมูลอย่างสุดกำลัง ด้วยเห็นว่าดาวเทียมเป็นทรัพยากรที่สำคัญสำหรับการสื่อสารของชาติ ไม่ควรตกไปอยู่ภายใต้การบริหารจัดการอย่างเบ็ดเสร็จของเอกชน.. ดูเพิ่ม
เริ่มแล้ว การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2 ล้านล้านบาท !
ก.คมนาคม จัดการสัมมนาในหัวข้อ "การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2 ล้านล้านบาท ประเทศชาติ และประชาชนได้อะไร" โดยเชิญหัวหน้าหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง และภาคเอกชน เข้าร่วมแสดงความเห็น และข้อเสนอแนะ หลังจากที่ผ่านมา ประเทศไทยไม่ได้ลงทุนขนาดใหญ่เป็นระยะเวลานาน จนทำให้ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศในปี 2555 มาอยู่อันดับที่ 39 หรือ หล่นมา 11 อันดับ จากในปี 2551 ที่ไทยมีขีดความสามารถทางการแข่งขันอยู่ในอันดับที่.. ดูเพิ่ม