หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ

แพะรับบาป

รมว.ยุติธรรม มอบเงินเยียวยา แพะ คดีอาญา หลังตกเป็นผู้ต้องหาดีฟอกเงินจากการทุจริตเงิน ติดคุกฟรีเกือบ 4 ปี
รมว.ยุติธรรม มอบเงินเยียวยาประชาชนที่ตกเป็นแพะในคดีอาญา รวม 3 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 2,092,049 บาท วันศุกร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2566 เวลา 10.00 น. ณ ศูนย์ยุติธรรมสร้างสุข (ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม) ชั้น 1 อาคารกระทรวงยุติธรรม ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ พันตำรวจเอกทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในพิธีมอบเงินช่วยเหลือเยียวยาแก่จำเลย (แพะ) ในคดีอาญา ตามพระร.. ดูเพิ่ม
จับแพะยัดคุกในเกาหลีใต้ฟรี 20 ปี ยุติธรรมอัปยศแห่ง "ฮวาซอง"
เกิดเหตุหญิงสาวนับสิบรายในประเทศเกาหลีใต้ถูก "ขืนใจแล้วฆ่า" ด้วยวิธีการที่สุดวิปริต ราวกับพล็อตในหนังสยองขวัญต้นทุนต่ำ ระหว่างวันที่ 15 กันยายน 1986 ถึงวันที่ 3 เมษายน 1991 แม้ตำรวจเกาหลีใต้จะระดมกำลังเจ้าหน้าที่รวมกันมากถึง 2 ล้านนาย และมีการสอบปากคำผู้ต้องสงสัยรวมกันมากถึง 21,000 คน เพื่อหาทางคลี่คลายคดีนี้ แต่...คนร้ายที่ได้รับการขนานนามในเวลาต่อมาว่า "ฆาตกรโหดแห่งฮวาซอง" ก็ยังคง "ลอยนวล" สร้า.. ดูเพิ่ม
คุณตา ติดป้ายประกาศ "ขายตา-ไต" หาเงิน 8.5 แสน หวังซื้อบ้านคืน หลัง จำนองมาสู้คีด ลูกติดคุกเป็นแพะรับบาป
นายบัวกัน อายุ 67 ปี ชาวอำเภอ เดชอุดม จ.อุบลราชธานี ติดป้ายประกาศขาย ตา ไต หวังแลกกับเงินเพื่อนำไปไถ่ซื้อบ้านคืน หลังนำบ้านเข้าไปจำนองธนาคาร อ้างว่านำเงินไปสู้คดีให้ลูกชายที่ตกเป็นแพะในคดีฆ่าคนตายนายบัวกัน เล่าให้ผู้สื่อข่าวฟังว่า เมื่อประมาณปี 2551 ได้มีนายหน้าชักชวนให้นำเอาบ้านไปจดจำนองกับธนาคารแห่งหนึ่งโดยอ้างว่าตนไม่ต้องทำอะไรแค่ไปเซ็นต์เอกสารที่สำนักงานที่ดิน ขณะนั้นได้เงินสดมา 4 แสนบาท นายห.. ดูเพิ่ม
ชายชาวเกาหลีใต้ เคลียร์คดีฆ่าวัยรุ่น หลังถูกจำคุก 20 ปี ข้อหาฆาตกรรม
ชายชาวเกาหลีใต้ เคลียร์คดีฆ่าวัยรุ่น หลังถูกจำคุก 20 ปี ข้อหาฆาตกรรม โซล, เกาหลีใต้ (CNN) ชายคนหนึ่งที่ใช้เวลา 20 ปี โดยมิชอบในคุก จากการฆ่าวัยรุ่นคนหนึ่ง ได้รับการชำระล้าง จากการฆาตกรรมของเธอ หลังจากคดีในศาลที่มีชื่อเสียง ในเกาหลีใต้ ซึ่งเปิดโปงการทรมานของตำรวจ และความล้มเหลวในการสอบสวน Yoon Seong-yeo ซึ่งตอนนี้อายุ 50 ปี ถูกตัดสินว่าไม่มีความผิด เมื่อวันพฤหัสบดีหลังจากการพิจารณาคดี ในเมือง Suwon.. ดูเพิ่ม
สุดยอดหนังไทยในอดีต"เชอรี่แอน"ภาพยนตร์ที่ตีแผ่คดีดังสร้างจากเรื่องจริง
สุดยอดหนังไทยในอดีต "เชอรี่แอน" ภาพยนตร์ที่ตีแผ่คดีดัง “คดีฆาตกรรมของนางสาวเชอรี่ แอน” มีผู้พบศพของนางสาวเชอรี่ แอนที่ป่าแสมใกล้ถนนสุขุมวิทสายเก่า หลักกิโลเมตรที่ 42 แถว บางปู สมุทรปราการ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 หลังการสอบสวนผู้เกี่ยวข้อง ภายใต้ความรับผิดชอบของ พ.ต.ท.เลิศล้ำ ธรรมนิสา กับ พ.ต.ท.มั่งคั่ง ศรีพรพงษ์ นำไปสู่การจับกุม นายวิชัย ชนะพานิช พร้อมบริวาร 4 คน นายเฉลิมรุ่ง .. ดูเพิ่ม
น้ำตาของแม่ เมื่อลูกชายกลายเป็น "แพะรับบาป" ถูกจำคุกในคดีข่มขืน (ต่อ)
"ทรงกลด" ชีวิตที่ดิ้นรนเพื่ออิสรภาพ จากผู้ต้องขัง "คดีข่มขืน" สู่การตรวจสอบความจริงที่คุณอาจคาดไม่ถึง!­!! แย่เนอะ เด็กก็บอกแล้วนะว่าไม่ใช่ ... ดูเพิ่ม
"ประเทศไทยทำกับฉันแบบนี้ได้อย่างไร"
สำหรับท่านที่ยังไม่เห็นนะครับ คุณทอมัส ฟูลเลอร์ แห่งนิวยอร์คไทมส์ (ที่ประจำประเทศไทย) ได้ทวิตว่า วรรณา สวนสัน ผู้ต้องหาที่อยู่ตุรกี ได้ปฏิเสธเด็ดขาดว่า ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการระเบิด เธอบอกผ่านหัวหน้าหมู่บ้านที่เธออยู่ในตุรกีว่า เธอยินดีจะมอบตัวเมื่อไรก็ได้ ขอเพียงให้ทางการไทยช่วยออกค่าเดินทางให้ เพราะเธอไม่สามารถออกค่าเดินทางเองได้ เธอกล่าวว่า ข้อกล่าวหาเธอเป็นความผิดพลาด "ประเทศไทยทำกับฉันแบบนี้ไ.. ดูเพิ่ม
สงสัยไหม ทำไม "แพะ" ต้อง "รับบาป"
เป็นสำนวนที่ใช้กันอย่างแพร่หลายครับ สำหรับคำว่า "แพะรับบาป" ที่ใช้เปรียบเปรยผู้ที่ต้องรับผลจากความผิดที่ตนเองไม่ได้ก่อ ความนิยมในการใช้สำนวนดังกล่าวในสังคมไทยมีมากเสียจนทำให้เกิดคำและวลีที่เกี่ยวข้องเช่น "จับแพะ" ที่เราๆ ท่านๆ ผ่านตาเป็นประจำตามหนังสือพิมพ์ต่างๆ ในความหมายของการจับตัวคนร้ายที่ไม่ถูกต้อง จับคนบริสุทธิ์ ไม่ได้จับผู้ร้ายที่ก่อความผิดจริงๆ และทำให้วลี "จับแพะ" นี้ขยายความหมายระหว่างบ.. ดูเพิ่ม
ทำไมต้องแพะรับบาป
เดี๋ยวนี้ใครๆ ก็ชอบพูดุถึงเรื่อง "แพ" ซึ่งเดิมทีก็จะเรียกกันเต็มๆ ว่าแพะรับบาป แต่ต่อมาในปัจจุบันก็มักจะเรียกกันสั้นๆ ว่าแพะ หลายคนได้ตั้งคำถามในใจว่าทำไมจึงเรียกเช่นนั้น วันนี้เรามาดูกันครับว่าข้อความที่จะได้อ่านน่าจะเป็นที่มาของคำว่า แพะรับบาปหรือไม่ "แพะรับบาป" พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้อธิบายว่าเป็นสำนวน ซึ่งหมายถึงคนที่รับเคราะห์กรรมแทนผู้อื่นที่ทำกรรมนั้น ส่วนที่มาของสำนวนนี.. ดูเพิ่ม