หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม แต่งรูป คำคม Glitter สเปซ ไดอารี่ เกมถอดรหัสภาพ เกม วิดีโอ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ

สำนวนไทย

คำศัพท์ภาษาไทยที่มีความยาวมากที่สุด ที่ถูกบรรจุไว้ในพจนานุกรม
คำศัพท์ภาษาไทย ที่มีความยาวมากที่สุด(เรียงตามจำนวนพยางค์ หรือ syllables) อันดับ 1 ความยาว 18 พยางค์" ไม่รู้จักเสือเอาเรือเข้ามาจอด ไม่รู้จักมอดเอาไม้เข้ามาขวาง "(ไม่-รู้-จัก-เสือ-เอา-เรือ-เค่า-มา-จอด-ไม่-รู้-จัก-มอด-เอา-ไม้-เค่า-มา-ขฺวาง)เป็นคำกริยา ที่เป็นสำนวนไทย มีความหมายว่า ทำสิ่งที่ไม่รู้ว่าจะมีภัยแก่ตัวคำนี้แผลงเป็นอักษรโรมันได้เป็น mai-ru-chak-suea-ao-ruea-khao-ma-chot-mai-ru-chak-mot-ao-.. ดูเพิ่ม
ทำไมระยอง"ฮิ"
เมื่อพูดถึงสามจังหวัด ภาคตะวันออก อย่างระยอง จันทบุรี ตราดกับประโยคระบือลือลั่นที่ว่า ระยองฮิสั้น จันทฮิยาว ตราดฮิใหญ่ ทำให้ชาวจังหวัดอื่นๆพากันสงสัยและจินตนาการกันใหญ่ ว่า"ฮิ" นั้นแท้จริงคืออะไร "ฮิ" ไม่ใช่คำทะลึ่ง แต่เป็นมรดกทางภาษาที่สืบทอดมา จากบรรพบุรุษ ชาวชอง แต่ละจังหวัดทางภาคตะวันออก จะมีสำเนียงการพูด สั้น ยาว ที่ต่างกัน คนระยองพูดสั้น คนจันทพูดยาว คนตราด พูดหนัก.. ความหมายของ "ฮิ" ใช้เป็.. ดูเพิ่ม
ที่มาของคำว่า ยักษ์ปักหลั่น อยู่ในสำนวนไทยที่ใช้เปรียบเทียบคนตัวใหญ่ว่า ใหญ่โตราวกับยักษ์ปักหลั่น
ที่มาของคำว่ายักษ์ปักหลั่น อยู่ในสำนวนไทยที่ใช้เปรียบเทียบคนตัวใหญ่ว่า ใหญ่โตราวกับยักษ์ปักหลั่น บางทีเราได้ยินชื่อแปลกๆในสำนวนภาษาไทย แต่เราไม่รู้ว่าที่มาของคำๆนั้นมีที่มาอย่างไรโดยเฉพาะในสำนวนไทย วันนี้เลยยกตัวอย่างคำว่า ปักหลั่น มาดูกันครับว่ามันมีที่มาที่ไปอย่างไร ปักหลั่น ปักหลั่น เป็นชื่อของยักษ์ตนหนึ่งในตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ มีหน้าที่เฝ้าสระโบกขรณีชื่อ "พันตา" ตั้งอยู่ระหว่างทางที่ทัพ.. ดูเพิ่ม
ลิ้นไม่มีกระดูก ต้องทำสตู
***สำนวนไทยเกี่ยวกับลิ้นมีมากมาย ส่วนใหญ่เกี่ยวกับการพูดจา คนที่ชอบพูดกลับกลอกไปมา จึงไ้ด้ชื่อว่า พลิกลิ้น หรือร้อยลิ้นกะลาวน แต่มีวาทะหนึ่งที่ตรงกับเมนูนี้คือ"ลิ้นไม่มีกระดูก" ลิ้นไม่มีกระดูกจริงๆ มีแต่เนื้อทั้งลิ้นวัวและลิ้นหมู คนที่ชอบกินบอกว่า มันเหนียวแต่มีความหนึบและกรุบๆเวลาเคี้ยว บางคนก็เมินหน้าหนีเมื่อเห็นชิ้นส่วนของลิ้นที่ยังไม่ได้ปรุงแต่งเป็นอาหาร การนำลิ้นมารังสรรค์เมนูที่นิยมชมชอบกัน.. ดูเพิ่ม
ไม่ร้อยลิ้นกะลาวนก็กินได้
***สำนวนไทยเกี่ยวกับลิ้นมีมากมาย ส่วนใหญ่เกี่ยวกับการพูดจา คนที่ชอบพูดกลับกลอกไปมา จึงไ้ด้ชื่อว่า พลิกลิ้น หรือร้อยลิ้นกะลาวน แต่มีวาทะหนึ่งที่ตรงกับเมนูนี้คือ"ลิ้นไม่มีกระดูก" ลิ้นไม่มีกระดูกจริงๆ มีแต่เนื้อทั้งลิ้นวัวและลิ้นหมู คนที่ชอบกินบอกว่า มันเหนียวแต่มีความหนึบและกรุบๆเวลาเคี้ยว บางคนก็เมินหน้าหนีเมื่อเห็นชิ้นส่วนของลิ้นที่ยังไม่ได้ปรุงแต่งเป็นอาหาร การนำลิ้นมารังสรรค์เมนูที่นิยมชมชอบกัน.. ดูเพิ่ม
ไม่พลิกลิ้น กินสตู
***สำนวนไทยเกี่ยวกับลิ้นมีมากมาย ส่วนใหญ่เกี่ยวกับการพูดจา คนที่ชอบพูดกลับกลอกไปมา จึงไ้ด้ชื่อว่า พลิกลิ้น หรือร้อยลิ้นกะลาวน แต่มีวาทะหนึ่งที่ตรงกับเมนูนี้คือ"ลิ้นไม่มีกระดูก" ลิ้นไม่มีกระดูกจริงๆ มีแต่เนื้อทั้งลิ้นวัวและลิ้นหมู คนที่ชอบกินบอกว่า มันเหนียวแต่มีความหนึบและกรุบๆเวลาเคี้ยว บางคนก็เมินหน้าหนีเมื่อเห็นชิ้นส่วนของลิ้นที่ยังไม่ได้ปรุงแต่งเป็นอาหาร การนำลิ้นมารังสรรค์เมนูที่นิยมชมชอบกันม.. ดูเพิ่ม
จริงดั่งคำเปรียบเทียบ​ เพราะอะไร?
การเปรียบ​เทียบ​ของคนโบราณ มีการอ้างอิงกับสิ่งใกล้ตัว ไม่ว่าจะเป็น คน พืช สัตว์​ สิ่งของ ทำให้เห็นภาพได้อย่างชัดเจน และสามารถเข้าใจได้ทันที เหมือนกับการเปรียบ​เทียบ​เด็ก กับหอย คงเคยได้ยิน ผู้ใหญ่พูด "เลี้ยงมาตั้งแต่ตีนเท่าฝาหอย" เมื่อกลับไปดูหอย อืม!! จริงด้วย สำนวน ตีนเท่าฝาหอยนั้นใช้ในการเปรียบเปรยถึงเด็กทารก หรือเด็กแรกเกิด ที่มีเท้าขนาดเล็กเท่ากับฝา หรือเปลือกของหอย จะใช้กับคนที่ยังเด็ก เล็ก.. ดูเพิ่ม
ที่มาสำนวน “ทอดสะพาน” คำนี้มักจะถูกพูดขึ้นเมื่อหญิงสาวให้ความสนิทสนมกับชายหนุ่ม!?
ที่มาของสำนวน ทอดสะพาน หลายๆคนคงเคยได้ยิน สำนวน “ทอดสะพาน”สำนวนนี้มักจะถูกพูดขึ้นเมื่อหญิงสาวให้ความสนิทสนมกับชายหนุ่มนั่นเองก็จะถูกผู้ใหญ่ว่าเอาได้ว่าทำตัวทอดสะพานแต่ท่านผู้อ่านรู้กันหรือเปล่าว่า คำว่า “ทอดสะพาน” นี้ มีที่มาลึกซึ้งกว่านั้น สำนวนนี้เกิดจากเหตุการณ์เมื่อสมัยก่อน ที่เมืองไทยของเรายังเต็มไปด้วยคูคลอง และเดินทางไปมาหาสู่กันด้วยการพายเรือ และการที่เราจะเดินเข้าไ.. ดูเพิ่ม
คำที่มักใช้สับสน? "ว้าวุ่น กับ วุ่นวาย"
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา โพสต์ คำที่มักใช้สับสน ๗/๒๕๖๖ "ว้าวุ่น กับ วุ่นวาย" คำว่า "ว้าวุ่น" หมายถึง...สับสน เช่น จิตใจว้าวุ่น คำว่า "วุ่นวาย" หมายถึง เอาเป็นธุระมากเกินไป, ไม่สงบ เช่น บ้านเมืองวุ่นวายเกิดจลาจลไปทุกหนทุกแห่ง ที่มา : พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ดูเพิ่ม
‘ตัดหางปล่อยวัด' แล้วตัดหางอะไรกัน หมา หรือ แมว
เชื่อว่าสำนวนไทย หลายคนต้องคุ้นหูแน่นอน อย่าง ‘ตัดหางปล่อยวัด' แล้วตัดหางอะไรกัน คงคิดกันบ่อยว่าเป็นหมาแน่ ถ้าให้ลองทายกันเล่น ๆ แบบไม่แอบเปิดกูเกิลค้นหาข้อมูล เราว่ามีหลายคนต้องตอบว่า ‘สุนัข’ บ้างล่ะ ‘แมว’ บ้างล่ะ แต่แท้จริงแล้ว ที่มาของสำนวนตัดหางปล่อยวัด ไม่ใช่หางของสุนัขหรือแมวแต่อย่างใด แต่คือ..................... หางไก่! ต่างหาก แล้วทำไมต้อง ‘หางไก่&rsquo.. ดูเพิ่ม
“อ่างล้างตีน” กับ "หัวบันไดไม่แห้ง"
สมัยแอดเป็นเด็กมีหน้าที่อยู่อย่างคือล้างทำความสะอาดเจ้าอ่างนี่แหละเพราะว่าใช้ไปได้ 4-5 วันก็จะมีตะไคร่น้ำเขียวขึ้นเต็มอ่างเพราะมันโดนแดด หรือไม่ก็จะเจออึ่งอ่างคางคกไปไข่ไว้บางทีทิ้งไว้จนเป็นลูกอ็อด แอดต้องคอยถ่ายน้ำและและใช้แปรงทองเหลืองขัดให้สะอาด เสร็จแล้วอุดด้วยจุกไม้ซีลด้วยผ้า กันซึม แล้วเติมน้ำใหม่ลงไป เจ้าอ่างนี้ สมัยก่อนถือว่าเป็นของสำคัญที่ทุกบ้านจะต้องมี ไม่มีไม่ได้ เพราะสมัยนั้นการเดินไ.. ดูเพิ่ม
ที่มาของ หนุมานคลุกฝุ่น!
สำนวน หนุมานคลุกฝุ่น มาจากเรื่องรามเกียรติ์ ตอนศึกไมยราพ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ เรื่องมีว่า ไมยราพซึ่งเป็นญาติของทศกัณฐ์ไปลักตัวพระรามมาขังไว้ที่เมืองบาดาล พระลักษมณ์ให้หนุมานไปช่วยพระราม. ไมยราพและหนุมานต่อสู้กันด้วยอาวุธต่าง ๆ แต่เอาชนะกันไม่ได้ ไมยราพออกอุบายให้ผลัดกันลงนอน แล้วใช้ต้นตาลใหญ่ ๓ ต้นฟั่นเป็นตระบองตีคนละ ๓ ที หนุมานยอมถูกตีก่อน แต่แอบเสกฝุ่นทาตัวให้คงทนจึงตีไม่ตาย ส่วนไมยราพถูก.. ดูเพิ่ม
เผยปริศนา! สำนวณ "รักดีต้องหามจั่ว รักชั่วต้องหามเสา"
ทำไม รักดีต้องหามจั่ว รักชั่วต้องหามเสา รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา เป็นสำนวนเปรียบเทียบคนที่ใฝ่ดีว่าเหมือนหามจั่ว และคนที่ใฝ่ชั่วว่าเหมือนหามเสา คำว่า จั่ว หมายถึง แผงไม้รูปสามเหลี่ยมใช้ประกบปิดตรงส่วนที่เป็นโพรงทั้งหัวและท้ายของหลังคาเรือนเพื่อป้องกันลม แดด และฝน. เสา หมายถึง ไม้ท่อนยาวตลอดลำต้นใช้สำหรับเป็นหลักหรือเป็นเครื่องรองรับเรือน. จั่ว เป็นไม้เครื่องบนของเรือนมีน้ำหนักเบากว่า เสา ซึ่งเป็น.. ดูเพิ่ม
ท้องแตกตาย หรือ ตายคาอก
เคยได้ยินสำนวนบางอย่างที่ชอบมาพูดกันเล่นๆว่า ท้องแตกตายบ้างหละ ตายคาอกบ้างหละ หลายคนคงสงสัยว่า มันมีจริงหรือ หรือแค่เป็นคำพูดตลกๆติดปากเท่านั้น หมอกอล์ฟว่าเอาหลักการแพทย์มาเคลียร์กันดีกว่าครับ เพราะคำว่า ท้องแตกตาย มีจริงนะครับไม่ได้ล้อเล่น แต่สำหรับเหตุผลที่ทำให้อิ่มตาย ซึ่งตายอย่างเป็นสุขไม่ใช่ตายอดตายอยาก ไม่ได้เป็นเพราะลูกหลานทำบุญกรวดน้ำมาให้ดี แต่สาเหตที่อาจเกิดได้มากที่สุดก็ยังคงเป็นเพราะต.. ดูเพิ่ม
บางเรื่อง ไทยก็ทันสมัยกว่าญี่ปุ่น 😎
เรื่องที่ไทยทันสมัยกว่าญี่ปุ่นอาจจะมีอยู่หลายเรื่อง แต่ตอนนี้นึกเรื่องนี้ขึ้นมาได้พอดี ก็เลยเขียนเรื่องนี้ค่ะ ☺️ ลองทายก่อนไหมคะว่าเรื่องอะไร ใบ้ให้ว่าเป็นเรื่องของภาษาค่ะ 😁 (ผู้อ่านคงเริ่มหงุดหงิดแล้ว เมื่อไรจะเข้าเรื่องสักที) 😅😂 ขะ ขะ เข้าเรื่องเลยก็ได้ค่ะ 🤣🤣 เรื่องภาษาที่ทันสมัยของไทยที่จะมาเขียนในวันนี้ก็คือเรื่องของสำนวนสุภาษิต "ยิงปืนนัดเดียวได้นกสองตัว" ค่ะ 🦜🦜🔫 ซึ่งสำนวนนี้มีความหมายตามพจน.. ดูเพิ่ม
กระจ่าง!! ที่มาของ คำว่า "เฒ่าหัวงู"
คำว่า "เฒ่าหัวงู" มันเป็นอย่างไร ? เมื่อได้อ่านมติชนที่เขียนถึงบิ๊กขี้หลีหรืออดีตข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ (ตัวสูง ๆ) ที่พยายามจะเคลมสาวสวยซึ่งเป็นผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์หรือข่าวนักการเมืองสาว สวยที่ถูกกล่าวหาว่าตั้งท้องกับนักการเมืองระดับบิ๊ก ก็เลยนึกถึงคำว่า "เฒ่าหัวงู" ขึ้นมา ผมเกิดความสงสัยว่าคำว่าเฒ่าหัวงูมาจากไหน? ใครเป็นคนประดิษฐ์คำนี้ขึ้นมาเป็นคนแรก ? ไม่มีใคร (ซึ่งรวมถึงผมด้วย)ทราบ รู้ักันแต่ว่.. ดูเพิ่ม
สำนวน 'ขึ้นคาน' มาจากไหน
สำนวน 'ขึ้นคาน' มาจากไหน "ขึ้นคาน" เป็นสำนวน หมายความถึงหญิงที่มีอายุเลยวัยสาวแล้วแต่ยังไม่ได้แต่งงาน เป็นคำที่มีนัย ตำหนิ เพราะแต่โบราณมานิยมให้ผู้หญิงแต่งงานเพื่อให้มีผู้ดูแลและป้องกันภัย ไม่โดดเดี่ยว สำนวน "ขึ้นคาน" มาจากเรียกเรือที่ยกขึ้นพาดไว้บนคานเพื่อซ่อมรอยรั่ว ยาชัน ทาน้ำมันใหม่ ในตอนนั้นเรือใช้ประโยชน์ไม่ได้ ค้างเติ่งอยู่บนคาน เรียกว่าขึ้นคาน ต่อมาจึงนำคำว่า ขึ้นคาน เป็นสำนวนเรียกสตรีผู้.. ดูเพิ่ม
ทำไมต้องแพะรับบาป
เดี๋ยวนี้ใครๆ ก็ชอบพูดุถึงเรื่อง "แพ" ซึ่งเดิมทีก็จะเรียกกันเต็มๆ ว่าแพะรับบาป แต่ต่อมาในปัจจุบันก็มักจะเรียกกันสั้นๆ ว่าแพะ หลายคนได้ตั้งคำถามในใจว่าทำไมจึงเรียกเช่นนั้น วันนี้เรามาดูกันครับว่าข้อความที่จะได้อ่านน่าจะเป็นที่มาของคำว่า แพะรับบาปหรือไม่ "แพะรับบาป" พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้อธิบายว่าเป็นสำนวน ซึ่งหมายถึงคนที่รับเคราะห์กรรมแทนผู้อื่นที่ทำกรรมนั้น ส่วนที่มาของสำนวนนี.. ดูเพิ่ม