สมรสเท่าเทียม
ประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีความเท่าเทียมในการสมรส.
ประเทศไทย เป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยผ่านร่างพระราชบัญญัติการแต่งงานเพศเดียวกันอย่างเป็นทางการ และกลายเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใน"ราชกิจจานุเบกษา" ประกาศเมื่อวันที่ 24 ว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงสนับสนุนและลงนามในร่างพระราชบัญญัติความเท่าเทียมในการสมรส ทำให้ประเทศเรากลายเป็นประเทศแรกอย่างเป็นทางการในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ ยอมรับก.. ดูเพิ่ม
ราชกิจจานุเบกขา ประกาศใช้พรบ.เท่าเทียมแล้ว
เมื่อวันที่ 24 กันยายน ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ พระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ.2567 หรือกฎหมาย สมรสเท่าเทียม ซึ่งมีเนื้อหารับรองการสมรสระหว่างบุคคล โดยไม่จำกัดเฉพาะชาย-หญิง อีกต่อไป สมรสเท่าเทียม เป็นกฎหมายซึ่งมีเนื้อหารับรอง การสมรสระหว่าง "บุคคล" โดยไม่จำกัดเพียง "ชาย-หญิง" ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ 120 วัน หลังการประกาศราชกิจจานุเบกษา ซึ่งจะตรงกับวันที่ 22 มกร.. ดูเพิ่ม
ส.ส.เท่าพิภพ เสนอร่างแก้กฎหมาย ปลดล็อกสื่อ-ของเล่นผู้ใหญ่ หวังนำขึ้นมาอยู่บนดิน
เมื่อวานนี้ (21 ก.ค. 67) นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร ส.ส.พรรคก้าวไกล ได้เสนอร่างแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 287 เพื่อปลดล็อกสื่อและของเล่นผู้ใหญ่ โดยมีเป้าหมายเพื่อ: อนุญาตสื่อสำหรับผู้ใหญ่: โดยกำหนดให้ผู้เข้าถึงต้องมีอายุ 20 ปีขึ้นไป และเนื้อหาต้องไม่มีความรุนแรง เช่น ฉากข่มขืน หรือการใช้กำลัง ปลดล็อกของเล่นผู้ใหญ่: เพื่อให้สามารถกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยผ่าน มอก. และ อย. ได้ นายเท่าพิภพ ยืนยันว่าการแก.. ดูเพิ่ม
สิทธิควรรู้ "สมรสเท่าเทียม
สิทธิควรรู้ "สมรสเท่าเทียม" สมรสเท่าเทียมหมายถึง การสมรสที่บุคคลทุกเพศสภาพ ไม่จำกัดแค่ชายและหญิง สามารถจดทะเบียนสมรสและได้รับสิทธิเสมอกันทางกฎหมาย กฎหมายสมรสเท่าเทียม กำลังอยู่ในกระบวนการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร ยังไม่มีผลบังคับใช้ แต่ร่างกฎหมายฉบับนี้มีสาระสำคัญ ดังนี้บุคคลทุกเพศ อายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป สามารถจดทะเบียนสมรสได้ คู่สมรสจะมี สถานะเป็น "คู่สมรส"แทนคำว่า "สามีภริยา"คู่สมรสจะมีสิทธิแล.. ดูเพิ่ม
สมรสเท่าเทียม มิติใหม่ของโครงสร้างครอบครัวไทย
สภาผู้แทนราษฎรมีวาระผ่าน พ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) มาตรา 1448 หรือ กฎหมายสมรสเท่าเทียม ได้รับความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรแล้ว กฎหมายสมรสเท่าเทียม มีหลักการคือ การขยายสิทธิการสมรสหรือแต่งงานให้ครอบคลุมบุคคลทุกเพศ โดยแก้ไขกฎหมายแต่งงานเดิม ซึ่งก็คือประมวลกฎหมายแพ่งฯ (ป.พ.พ.) มาตรา 1448 ที่อนุญาตให้แต่เฉพาะบุคคล "เพศชาย" กับ "เพศหญิง" จดทะเบียนสมรสได้เท่านั้น เป็นการสมรสระหว่างบ.. ดูเพิ่ม
"โจแอน บุญสูงเนิน" ฉลองสมรสเท่าเทียมผ่าน ประกาศแต่งงานแฟนหนุ่ม
โจแอน บุญสูงเนิน นางโชว์ชื่อดัง และอดีตแนวร่วม กปปส. เปิดเผยเกี่ยวกับเส้นทางรักแท้ว่า เจอกับหนุ่มรุ่นน้องที่ทำงานคือสีลมซอย 2 โดยตัวเองนั้นก็ทำงานปกติแต่แอบสังเกตุว่ามีหนุมคนนึงมาดูโชว์เธอตลอดๆ แล้วไม่ยุ่งเกี่ยวกับใคร ไปๆ มาๆ เริ่มมาดูทุกวันเปย์เธอตลอดๆ เลยตัดสินใจบุกเข้าไปพูดคุย จากนั้นคลิกกันจึงได้พูดคุยกันมากขึ้นจากนั้นก็ตัดสินใจคบหาดูใจกัน แม้ว่าจะอายุห่างกันถึง 27 ปีก็ไม่มีปัญหา แฟนหนุ่ม อาย.. ดูเพิ่ม
จังหวัดตาก โดย พมจ.ตาก จัดงานระแหงไพรด์2024
เมื่อวันนี้ 21 มิถุนายน 2567 เวลา 18.00 น. ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก มอบหมายให้ นายสมพงษ์ ฟุ้งทวีวงษ์ นายอำเภอเมืองตาก เป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรมรณรงค์สาธารณะส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศ และความเท่าเทียมทางเพศ ในเดือนแห่งความภาคภูมิใจ เสริมพลังความเข้มแข็งให้ครอบครัวและสังคม "ระแหงไพรด์ 2024" โดยมีนางสาวจิราพร คำพุฒ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดตาก นางสาวธมลวรรณ เจริญวงษ์พิสิทธิ์ ผู้อำนวยการ .. ดูเพิ่ม
"เบน ชลาทิศ" จ่อจดทะเบียนสมรสที่ไทยอีกครั้ง หลัง พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียมผ่าน
เบน ชลาทิศ ตันติวุฒิ นักร้องชื่อดังได้เปิดใจหลัง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ผ่านมติเห็นชอบการประชุมวุฒิสภา โดยบอกว่า รู้สึกดีใจแทนชาว LGBTQIAN มากๆ ส่วนตัวเองก็เพิ่งครบรอบแต่งงาน 5 ปีกับสามี ที่บินไปแต่งกันที่ออสเตรเลีย ซึ่งเหตุผลที่ตัดสินใจแต่งงานจดทะเบียน เพราะอยากใช้ชีวิตกับคนนี้ อยากให้เกียรติเขา ซึ่งการแต่งงานการมีทะเบียนสมรส ถือเป็นการให้ความเชื่อมั่นกับคู่รักของเรา รู้สึกว่าชีวิตคู่สมบูรณ์ และรู้.. ดูเพิ่ม
"บุ๋ม ปนัดดา" ยินดี กฎหมายสมรสเท่าเทียมผ่านฉลุย แจงโพสต์ สว. ลดทอนคุณค่าอะไร
บุ๋ม ปนัดดา วงศ์ผู้ดี นางสาวไทย 2543 และพิธีกรชื่อดัง ตอบประเด็น พล.อ.วรพงษ์ สง่าเนตร สมาชิกวุฒิสภา หรือ สว. อภิปรายในสภา ถึงกฏหมายสมรสเท่าเทียม จะลดทอนคุณค่าเพศชายเพศหญิง โดยบอกว่า ขอแสดงความยินดีกับพี่น้อง LGBTQ ทุกคน สมรสเท่าเทียมประเทศแรกในภาคพื้นเอเชียเรา ดีใจมากๆ มันแสดงถึงความก้าวหน้า ขอโทษนะคะสมรสเท่าเทียม กฎหมายวิ่งเร็วกว่ากฎหมายข่มขืนของดิฉันอีกนะคะ สู้กันมากี่แล้วแล้วกับกฎหมายข่มขืนสู้.. ดูเพิ่ม
"วู้ดดี้" ร้องเย้! หลังสมรสเท่าเทียมผ่าน เตรียมจัดงานแต่ง "ไฮโซโอ๊ต" 7 วัน 7 ธีม อุบทุ่มงบ 100 ล้าน
วู้ดดี้ วุฒิธร มิลินทจินดา พิธีกรชื่อดัง ได้เปิดเผยหลังกฎหมายสมรสเท่าเทียมผ่านมติเห็นชอบ ว่ารอคอยมา 10 ปี ก็คอยนับถอยหลัง รู้สึกว่ามันมีหลายครั้งที่เราอยู่เบื้องหลัง และเราก็ไม่ได้มีโอกาสเล่าให้คนฟัง เพราะมันไม่ได้เป็นสิ่งที่เหมาะสมมาก แต่หลายๆ ครั้งที่ผู้ใหญ่เขาเรียกเข้าไป และถามว่าต้องการกฎหมายนี้จริงเหรอ มันจะช่วยเหลืออะไรบ้าง LGBTQ ต้องการกฎหมายนี้เพื่ออะไร ก็ต้องไปอธิบายให้ผู้ใหญ่เขาฟังว่ามั.. ดูเพิ่ม
"บุ๋ม ปนัดดา" สวนกลับ "สว.วรพงษ์" ค้านสมรสเท่าเทียม อ้างกดชายหญิงให้ต่ำลง ลั่น ไม่รู้สึกถูกลดทอนคุณค่าอะไร
บุ๋ม ปนัดดา วงศ์ผู้ดี นางสาวไทย 2543 และพิธีกรชื่อดัง ได้โพสต์ใน instagram boompanadda โดยระบุว่า #อะไรกันครับเนี่ย กฎหมายสมรสเท่าเทียมมีเพื่อให้ทุกคนมีสิทธิ์ทางกฎหมายมากขึ้นโดยไม่เกี่ยงเพศสภาพหรือความชอบส่วนตัว กฎหมายไม่ได้ลดทอนคุณค่าของบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือเพศใดเพศหนึ่ง แต่กลับส่งเสริมคนที่อยู่ในเงาของความเหลื่อมล้ำที่มีมานานได้มีสิทธิ์มีเสียงอย่างที่เขาควรจะได้ สิ่งที่คุณพูดออกมามันยิ่งเป็นการ.. ดูเพิ่ม
"แพรรี่" ฟาดเดือด "สว.วรพงษ์" ค้านสมรสเท่าเทียม อ้างทำลายสถาบันครอบครัว ย้ำ ไม่มีใครถูกกดให้ต่ำ มีแต่เสมอภาค
แพรรี่ ไพรวัลย์ วรรณบุตร อินฟลูเอนเซอร์ชื่อดัง ได้โพสต์ในเฟซบุ๊ก โดยระบุว่า ผู้หญิงหรือผู้ชายสูญเสียสิทธิอะไรจากกฎหมายสมรสเท่าเทียมคะ จงอภิปราย กะเทยแบบดิฉัน เสียภาษีน้อยกว่าท่านที่เป็นนายพลเหรอคะ ก็ไม่ใช่อีก โดยความเป็นจริงแล้ว ชาว LGBTQ+ ไม่เคยเรียกร้องสิทธิอะไรมากกว่าผู้หญิงหรือผู้ชายค่ะ พวกเราแค่เรียกร้องสิ่งที่เราควรได้รับอย่างเท่าเทียมกับคนอื่น ในฐานะพลเมืองของประเทศนี้เท่านั้น เป็นหน้าที่ข.. ดูเพิ่ม
ถกร่างกฏหมายสมรสเท่าเทียมเดือด! "สว.วรพงษ์" ค้านหัวชนฝา ลั่น เซาะกร่อนทำลายสถาบันครอบครัว
ในการประชุมวุฒิสภา วันที่ 18 มิถุนายน 2567 วาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (สมรสเท่าเทียม) ที่ผ่านการพิจารณาในชั้น สส. และคณะกรรมาธิการวิสามัญ ฒิสภาพิจารณาเสร็จแล้ว จำนวน 69 มาตรา โดยพิจารณาเป็นรายมาตรา พล.อ.วรพงษ์ สง่าเนตร สมาชิกวุฒิสภา หรือ สว. ได้อภิปรายว่า ตนไม่เห็นด้วยกับวิธีการ และหลักการในการแก้ไขกฎหมายในครั้งนี้ การเอาคำว่า สามีภ.. ดูเพิ่ม
ผลกระทบทางกฎหมาย ของสมรสเท่าเทียม ต่อครอบครัวและมรดก
ผลกระทบทางกฎหมายของสมรสเท่าเทียมต่อครอบครัวและมรดกต กฎหมายสมรสเท่าเทียม กำลังเป็นประเด็นร้อนแรงที่ถกเถียงกันอยู่ในสังคมไทย หลายคนต่างตั้งคำถามถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องของ ครอบครัว และ มรดก ในบทความนี้ เราจะมาเจาะลึกถึงผลกระทบทางกฎหมายของสมรสเท่าเทียมต่อประเด็นเหล่านี้ เพื่อให้เข้าใจภาพรวมและเตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น สถานะทางครอบครัว การจดทะเบียนสมรส: คู่รักเพ.. ดูเพิ่ม
กฎหมายสมรสเท่าเทียมผ่านแล้ว!
กฎหมายสมรสเท่าเทียมผ่านแล้ว! ประวัติศาสตร์บทใหม่ของประเทศไทย ในวันที่ 18 มิถุนายน 2567 วุฒิสภาไทยได้โหวตผ่านร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ด้วยคะแนนเสียงเห็นชอบ 130 เสียง ต่อ 12 เสียง ส่งผลให้ประเทศไทยกลายเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่รับรองสิทธิสมรสสำหรับบุคคลทุกเพศอย่างเป็นทางการ กฎหมายฉบับนี้มีผลแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยเปลี่ยนนิยาม "คู่สมรส" จากเดิมที่จำกัดไว้เฉพาะชายและหญิง เป็น .. ดูเพิ่ม
รวมไฮไลท์! งานเทศกาล Bangkok Pride 2024 วันที่ 1 มิถุนายน 2567
รวมไฮไลท์งานเทศกาลบางกอกไพรด์ วันเสาร์ ที่ 1 มิถุนายน 2567 พบกับ -ขบวนบางกอกไพรด์ 2024 ขบวนพาเหรดมาในธีม "cerebration of love เฉลิมฉลองสมรสเท่าเทียม" เริ่มตั้งขบวนจากสนามกีฬาแห่งชาติ เวลา 14.00 น. ปล่อยขบวนที่ 1 เวลา 15.00 น. ขบวนจะมุ่งหน้าแยกราชประสงค์ (ถนนพระราม 1) บุคคลทั่วไปเข้าร่วมได้ฟรี ไม่ต้องลงทะเบียน จบงานแล้วพบกับคอนเสิร์ตปิดท้ายขบวนที่ลานหน้าเซ็นทรัลเวิลด์ -บางกอกไพรด์ฟอรัมทั้ง 3 เวที .. ดูเพิ่ม
เปิดตัวขบวน Bangkok Pride 2024 ภายใต้แนวคิด "Celebration of Love เฉลิมฉลองสมรสเท่าเทียม"
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 มาร่วมประกาศชัยชนะและความภาคภูมิใจต่อประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวเพื่อสมรสเท่าเทียมกว่า 2 ทศวรรษ ขบวนปีนี้ประกอบไปด้วย 5 ขบวนหลัก 5 นิยามความรักที่เปิดกว้างให้ผู้เข้าร่วมตีความ แสดงออก และนำเสนอนิยามความรักในแบบของตัวเองเพื่อใช้ความรักนำทางสร้างสรรค์สังคมที่เท่าเทียม เริ่มตั้งขบวน ณ ลานหน้าอาคารนิมิบุตร สนามกีฬาแห่งชาติ เวลา 14.00 น. เดินขบวนบนถนนพระราม 1 มุ่งหน้าสู่ แยกราชประ.. ดูเพิ่ม
กรีซผ่านร่างกฎหมาย สมรสเพศเดียวแล้ว
กรีซกลายเป็นประเทศแรกที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายออร์โธดอกซ์ที่อนุญาตให้การแต่งงานของคนเพศเดียวกันถูกกฎหมาย คู่รักเพศเดียวกันจะได้รับอนุญาตให้รับบุตรบุญธรรมได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย หลังจากการลงคะแนนเสียงในรัฐสภาเมื่อวันพฤหัสบดีด้วยคะแนนเสียง 176-76 เสียง ทางด้านนายกรัฐมนตรีคีเรียคอส มิตโซตากิส กล่าวว่ากฎหมายใหม่จะ "ยกเลิกความไม่เท่าเทียมกันอย่างร้ายแรงอย่างกล้าหาญ" ที่ผ่านมานับตั้งแต่มีการเสนอร่างกฎ.. ดูเพิ่ม