ละเมิด
PDPA หรือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลแบบเข้าใจง่าย ๆ
เมื่อ 1 มิ.ย. ประเทศไทยได้ประกาศใช้กฎหมาย PDPA หรือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 สิ่งนี้คืออะไร ? ชวนมาทำความรู้จักแบบเข้าใจง่าย ๆ PDPA ย่อมาจาก Personal Data Protection Act B.E. 2562 (2019) คือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 เป็นกฎหมายว่าด้วยการให้สิทธิ์กับเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล สร้างมาตรฐานการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลให้ปลอดภัย และนำไปใช้ให้ถูกวัตถุประสงค์ตามคำยินยอมที่เจ้าของข้อมู.. ดูเพิ่ม
WhatsApp ละเมิดกฎหมายความเป็นส่วนตัวของสหภาพยุโรป โดนปรับ 225 ล้านยูโรจากไอร์แลนด์
คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลของไอร์แลนด์ได้รับความไว้วางใจในคดีนี้ เนื่องจากสำนักงานใหญ่ของ Facebook ในยุโรปตั้งอยู่ในประเทศ ในวันพฤหัสบดีที่บริการส่งข้อความ WhatsApp ของ Facebook ด้วยบันทึกการปรับสำหรับการละเมิดกฎหมายความเป็นส่วนตัวของข้อมูลของสหภาพยุโรป หลังจากที่หน่วยงานกำกับดูแลของยุโรปเรียกร้องให้มีการลงโทษเพิ่มขึ้น คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลของไอร์แลนด์ได้รับความไว้วางใจในคดีนี้ เนื่องจากสำนักงาน.. ดูเพิ่ม
เพจดังเตือน!! ห้ามแชร์ เว็บข่าวปลอม ที่เอาภาพคุณครูท่านหนึ่งมากุข่าวว่าเป็นคนที่ตรวจการบ้านผิดตามข่าว
เพจ Drama-addict โพสต์เตือนห้ามแชร์ เว็บข่าวปลอม ที่เอาภาพคุณครูท่านหนึ่งมากุข่าวว่าเป็นคนที่ตรวจการบ้านผิดตามข่าว เตือนพ่อแม่พี่น้อง ลิงค์นี้ห้ามแชร์ เพราะมันเป็นเว็บข่าวปลอม ที่เอาภาพคุณครูท่านนี้มากุข่าวว่าเป็นคนที่ตรวจการบ้านผิดที่กำลังเป็นข่าวกันน่ะ ตอนนี้คุณครูเขากำลังไปแจ้งความดำเนินคดีกับเว็บนี้ จึงเรียนมาเพื่อทราบ ------------------------------------------------------ ซึ่งหลังมีข่าว เฟสบ.. ดูเพิ่ม
เมื่อเพื่อนบ้านมโนว่าไกรทองเป็นตัวเอง
นั่งอ่านวิกิ (ภาษาอังกฤษ) ไปเรื่อยๆ ไปสะดุดกับเพจนี้ (ดูตามรูปได้นะครับ) https://en.wikipedia.org/wiki/Royal_ballet_of_Cambodia จะเห็นว่ามีการนำไกรทองไปใส่เป็นของตัวเองเฉยเลย ตอนนี้มีความพยายามจากประเทศเพื่อนบ้าน (ที่แสนดี) ของเรา ไปมโนของไทยหลายอย่างว่เป็นของตัวเองโดยการไปเขียนเพิ่มเติมในวิกิพีเดีย (โดยเฉพาะหน้าที่ไม่มีภาษาไทยเพื่อป้องกันไม่ให้คนไทยรู้) อยากให้เราคนไทยและหน่วยงานของรัฐเป็นหูเป็น.. ดูเพิ่ม
นำภาพมาโพส..ละเมิดลิขสิทธิ์ หรือปล่าว???
ภาพถ่ายถือเป็นงานที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ประเภทงาน ศิลปกรรม ซึ่งจะได้รับความคุ้มครองทันทีนับแต่สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน และเจ้าของลิขสิทธิ์จะมีสิทธิแต่ผู้เดียวในการทำซ้ำ (ทำสำเนา เช่น copy ภาพถ่ายลงในหนังสือหรือสิ่งพิมพ์) ดัดแปลง (ทำสำเนาโดยเปลี่ยนรูปแบบใหม่ เช่น เปลี่ยนจากภาพ 2 มิติ เป็นภาพ 3 มิติ) และเผยแพร่ต่อ สาธารณชน เป็นต้น การกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดดังกล่าวข้างต้นต้องได้.. ดูเพิ่ม