หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ

มลายู

ภาษาที่ได้รับความนิยม และมีจำนวนผู้ใช้งานมากที่สุดในประเทศไทย
ประเทศไทย ถือเป็นประเทศขนาดใหญ่อีกประเทศหนึ่งในโลกความกว้างใหญ่ของไทยทำให้มีความหลายหลายในด้านวัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ อาหาร วิถีชีวิต รวมไปถึงเรื่องของภาษาด้วยภาษาที่นิยมใช้กันในประเทศไทย มีอยู่หลายภาษาด้วยกันโดยมีภาษาไทยภาคกลางเป็นภาษาที่มีผู้ใช้มากสุดควบคู่กับการเป็นภาษาราชการนอกจากนั้นยังมีภาษาถิ่นย่อย และภาษาอื่นๆ อีกหลายตระกูลภาษาโดยรวมแล้ว มีอยู่ไม่น้อยกว่า 71 ภาษา ที่มีการใช้งานในประเทศไ.. ดูเพิ่ม
ตระกูล ต่วน คำนำหน้าชื่อ ต่วน,กู,ตนกู,ต่วนกู,นิ
ในสังคมไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และบางรัฐในประเทศมาเลเซีย เช่น รัฐกลันตัน ยังมีการใช้ คำนำหน้าชื่อหรือยศ ต่วนกู,ตนกู,เติงกู,เต็งกู,อังกู,ตุนกู,ต่วนกู, ตูแว,ตูวัน,นิ สำเนียงอาจเพี้ยนไปตามท้องถิ่นหรือรัฐนั้นๆ คำนำหน้าหรือยศเหล่านี้บ่งบอกว่าเป็นชนชั้นเจ้า มี 3 ลำดับดังนี้ (1) ต่วนกู ถือเป็นยศชั้นสูงสุดหมายถึงพระราชาหรือองค์ประมุขสูงสุด (2) ตนกู,เติงกู,เต็งกู,อังกู,ตุนกู,ต่วน,กู, ตูแว,ตู.. ดูเพิ่ม
ราชาศัพท์ในภาษามลายู
ราชาศัพท์ในภาษามลายู นอกจากภาษาไทย และภาษาเขมรแล้ว ในภาษามลายู เชื่อหรือไม่ว่า มีการใช้ราชาศัพท์อีกด้วย ราชาศัพท์ มลายูเรียกว่า บาฮาซา อิสตานา (Bahasa Istana) หรือแปลตรงตัวว่า ภาษาวัง ราชาศัพท์ของมลายู จะแตกต่างกับภาษาไทยและเขมร ที่อาจจะรับวัฒนธรรมอาหรับมากกว่า แต่ก็มีแบบสันสกฤตเข้ามาด้วย การใช้ราชาศัพท์ของมลายูนั้น จะใช้กับทั้งยังดีเปอร์ต่วนอากง สุลต่าน และพระราชวงศ์ทั้งหลายในรัฐต่างๆ นี้คือตัวอย.. ดูเพิ่ม
มารู้จักกับ ชนชาวมลายู
มารู้จักกับชนมลายู ชนที่มีจำนวนมากเป็นอันดับต้นๆของโลกและมากกว่าชนอาหรับสะอีก โลกมลายู‎ > ‎ความรู้เกี่ยวกับชาวมลายู คำว่า “มลายู” ในความหมายที่ทางองค์การ UNESCO ซึ่งได้ทำการศึกษาในหัวข้อ Malay Cultural Studies Project ในปี 1972 ได้ให้คำอธิบายถึงความหมายของมลายูว่า คือ กลุ่มชนที่รวมกันอยู่ในกลุ่มมลายู-โปลีเนเซีย (Melayu-Polinesia) ซึ่งมีอาณาเขตที่กว้างขวาง จากเกาะมาดากัสการ์.. ดูเพิ่ม
ชาวมลายูไม่มีธรรมเนียมการใช้นามสกุล
ชาวมลายูไม่มีธรรมเนียมการใช้นามสกุล...แล้วใช้กันอย่างไร ชาวมลายู มาเลย์ และไทยเชื้อสายมลายู ไม่มีธรรมเนียมการใช้นามสกุล แต่จะอ้างอิงชื่อบิดาเป็นหลัก โดยใช้คำว่า บิน bin หรือ binti ซึ่งแปลว่า บุตรของ... หรือ son of.... นำหน้าใช้เป็นนามสกุล เลยไม่มีนามสกุลตายตัวอย่างที่เราใช้กัน ปัจจุบันชาวมาเลเซียเองก็ยังไม่มีธรรมเนียมการใช้นามสกุล แต่จะอ้างอิงการเป็นบุตรของใคร ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนคือ ดร.มหาเธร์ โ.. ดูเพิ่ม
ระวัง!!! เด็กมลายูฯ ผู้น่าสงสาร #ต้องเป็นเครื่องมือให้กับคนชั่ว
ทุกครั้งเมื่อถึงช่วงปิดเทอมของโรงเรียนเด็กนักเรียนมักจะถูกต้อนให้ไปเข้าร่วมหลักสูตรภาคฤดูร้อนภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่ผู้จัดอบรมมักจะเป็น เปอร์มูดอที่คอยจัดหลักสูตรตาดีกาในช่วงปิดเทอมโดยมีการปลูกฝังในเรื่องความรักชาติพันธุ์ปาตานี อย่างไรก็ตาม..ผู้ที่เป็นพ่อแม่ผู้ปกครอง ก็อย่าละเลยในการเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิดลูกหลานจะต้องอยู่ในสายตาของเราในเมื่อลูกหลานของเรานิสัยดี เรียนเก่งคิดว่าอนาคตไปได้ไกล ก็เป็น.. ดูเพิ่ม
กองทัพสยามลงไปตีเอาหัวเมืองมลายูในสมัยรัตนโกสินทร์ PART1
โปรดกดsubscribeเพื่อติดตามคลิปใหม่ๆจากทางรายการครับ goo.gl/wH0ftf กองทัพสยามลงไปตีเอาหัวเมืองมลายูในสมัยรัตนโกสินทร์ PART1 เรื่องเล่าบันเทิง CHANNEL https://youtu.be/gJ5RpaeEY0A กองทัพสยามลงไปตีเอาหัวเมืองมลายูในสมัยรัตนโกสินทร์ PART2 เรื่องเล่าบันเทิง CHANNEL https://youtu.be/8S0uGxDMGhI ดูเพิ่ม
กองทัพสยามลงไปตีเอาหัวเมืองมลายูในสมัยรัตนโกสินทร์
กองทัพสยามลงไปตีเอาหัวเมืองมลายูในสมัยรัตนโกสินทร์ PART1 เรื่องเล่าบันเทิง CHANNEL กองทัพสยามลงไปตีเอาหัวเมืองมลายูในสมัยรัตนโกสินทร์ PART2 เรื่องเล่าบันเทิง CHANNEL ดูเพิ่ม
บ้าน บลีดอ
บ้าน บลีดอ ประวัติและที่มาของ "บ้าน บลีดอ"(หมู่ 8 ต. บาราเฮาะ อ. เมือง จ. ปัตตานี)“บลีดอ” เป็นภาษามลายูถิ่น หมายถึง ปลากราย ซึ่งมีอยู่อย่างชุกชุมในบึงของหมู่บ้าน ตั้งอยู่ริมแม่น้ำปัตตานี ชาวบ้านจึงเรียกหมู่บ้านแห่งนี้ว่า “กัมปงบลีดอ” หมายถึง หมู่บ้านปลากรายพ.ศ. 2535 สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท จังหวัดปัตตานี (รพช.) ตัดถนนลาดยางเข้าสู่หมู่บ้าน แล้วติดตั้งป้ายชื่อหมู่บ้านว่า &l.. ดูเพิ่ม