พุทธวจน
บทสวด ปฏิจจสุปบาท พุทธวจน
ปฏิจจสมุปบาท อิธะ ภิกขะเว อะริยะสาวะโก ปะฏิจจะสะมุปปาทัญเญวะ สาธุกัง โยนิโส มะนะสิกะโรติ ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย เป็นอย่างดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว ดังนี้ว่า อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ย่อมมี อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปัชชะติ เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี อ.. ดูเพิ่ม
กรรม คืออะไร!!(อะไรทำให้เกิดกรรม)
พระศาสดาทรงตรัสว่า กรรม เป็นสิ่งที่บุคคลควรทราบ นิยามของคำว่ากรรม ที่พระศาสดาทรงบัญญัติ คือ เรากล่าวซึ่งเจตนาว่าเป็นกรรม กรรมอันบุคคลเจตนาแล้วย่อมกระทำด้วย กาย วาจา ใจ (ดังนั้นกรรมทางใด ที่กระทำโดยไม่เจตนา ย่อมไม่มี) เหตุเป็นแดนเกิดของกรรม คือ ผัสสะ และ ความดับแห่งกรรม คือ การดับแห่งผัสสะ [ผัสสะ (สัมผัส) อาศัยตาด้วย ๑ อาศัยรูปด้วย ๑ จึงเกิด จักขุวิญญาณ ๑ (เป็นต้น) การถึงพร้อมด้วยธรรม ๓ ประการนี้ .. ดูเพิ่ม
พุทธวจน...เข้าพรรษา กับเรื่องราวที่ควรทราบ...
วันเข้าพรรษา อยู่หลังวันอาสาฬหบูชาไป 1 วัน เราทราบความหมายของวัน อาสาฬหบูชามากพอสมควรแล้ว วันนี้มารู้เรื่อง การบัญญัติวันเข้าพรรษาของพระศาสดากันซักนิด ผมเชื่อว่ายังมีหลายคนที่ยังไม่ทราบ ถ้าไม่ได้ศึกษาพุทธวจน[๒๐๕] โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเวฬุวัน อันเป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนครราชคฤห์. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคยังมิได้ทรงบัญญัติการจำพรรษาแก่ภิกษุทั้งหลาย ภิกษ.. ดูเพิ่ม
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย)
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร นั้น คืออะไร ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร คือ ธรรม ที่ พระพุทธเจ้า ทรงแสดงแก่ ปัญจวัคคีย์ แล้วตอนนั้นเอง พระอัญญาโกณฑัญญะ ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงนั้นได้แสดงถึงสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ สองอย่าง คือ การหมกมุ่นในกาม และ การทรมานตนเอง และทรงแสดง ธรรมสายกลาง คือ อริยมรรคมีองค์ 8 นั้นเอง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ที่สุด สองอย่างนี้อันบรรพชิตไม่ควรเสพ คือการประกอบต.. ดูเพิ่ม
พระพุทธเจ้าทรงสอนเรื่อง กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ไว่ว่าอย่างไร
ธรรมจักรกัปวัตนสูตร (ปฐมเทศนา) อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง( ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แลเป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง คือ )ชาติปิ ทุกขา ( แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์ )ชะราปิ ทุกขา ( แม้ความแก่ ก็เป็นทุกข์ )มะระณัมปิ ทุกขัง ( แม้ความตาย ก็เป็นทุกข์ )โสกะปริเทวะทุกขะโทมะนัสสุกปายาสาปิ ทุกขา( แม้ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์ )อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ( ความประสบพบ.. ดูเพิ่ม
มาดูกัน โพชฌงค์ทั้ง ๗ มีอะไรบ้าง (ธรรมชั้นลึก)
เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔ โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติบริบูรณ์ ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมอันเอกนั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมทำธรรมทั้ง ๔ ให้บริบูรณ์; ครั้นธรรมทั้ง ๔ นั้น อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมทำธรรมทั้ง ๗ ให้บริบูรณ์; ครั้นธรรมทั้ง ๗ นั้น อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมทำธรรมทั้ง ๒ ให้บริบูรณ์ได้. ภิกษุทั้งหลาย ! อานาปานสติสมาธินี้แล เป็นธรรมอันเอก ซึ.. ดูเพิ่ม
มรรคมีองค์แปดคืออะไรบ้าง!! และมีรายละเอียดอย่างไรตามพุทธองค์ตรัสสอน
มรรค การปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์ (กรรมไม่ดำไม่ขาว) ตามที่เราเรียนมามรรค มีแปดข้อ มรรคมีองค์แปดนั่นเอง นี้คือหนทางสายกลางที่พระศาสดาทรงค้นพบและเป็นหนทางวิธีเดียวที่กระทำแล้วเข้าถึงนิพพานได้ พระองค์ทรงตรัสไว้ว่า ทำกรรมดำได้รับผลวิบากกรรมดำ ทำกรรมขาวได้รับผลวิบากขาว แลถ้าทำกรรมไม่ดำไม่ขาวก็ได้รับผลไม่ดำไม่ขาว ดังนั้นในมรรคแปดคือหนทาง ที่ปฏิบัติตามแล้วเป็นไปซึ่งความดับไม่เหลือแห่งกรรมมีอะไบ้าง ๑.. ดูเพิ่ม
ทาน (การให้) เป็นอย่างไร?(ตามพุทธพจน์)
บทนำ บุคคลบางคนในโลกนี้ ให้ทานโดยมีความหวังผล ให้ทานโดยมีจิตผูกพันในผล ให้ทานโดยมุ่งการสั่งสม (บุญ)ให้ทานโดยคิดว่า “เราตายไปจักได้เสวยผลของทานนี้”เขาให้ทานนั้นแล้ว เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาเหล่าจาตุมหาราชิกา เขาสิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศหมดความเป็นใหญ่แล้ว ยังเป็นผู้กลับมา คือ มาสู่ความเป็นอย่างนี้...ปุถุชนผู้ได้สดับและได้ศึกษาในธรรมวินัยที่ตถาคตได้บัญญัติไว้ จึงจะทรา.. ดูเพิ่ม
มาดู พระศาสดาตรัส รายละเอียดของปฏิจสมุปบาทไว้อย่างไร?
พระโสดาบัน คือ ผู้เห็นชัดรายละเอียดแต่ละสายของปฏิจจสมุปบาทตลอดทั้งสายโดยนัยแห่งอริยสัจสี่(เห็นตลอดสาย นัยที่หนึ่ง) ภิกษุทั้งหลาย !เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย;เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ;เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป;เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ;เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ;เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา;เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา;เพราะมีตัณหา.. ดูเพิ่ม
ว่าด้วยเรื่องของ อริยสัจสี่ และกฏอิทัปจยตา-ปฏิจจสมุปบาท(สิ่งที่พระองค์ทรงค้นพบ)
อริยสัจสี่ สัจจะความจริงของโลก สี่ประการ ๑.ทุกข์ ควรรอบรู้ ในทุกข์ สิ่งแรกที่ สัตว์(สัตตานัง) เจอเลยตอนเกิดมาคือ ทุกข์ เพราะพระพุทธองค์ทรงตรัสไว้ วิ่งไหนมีการเกิด สิ่งนั้นย่อมเป็นทุกข์ เพราะเมื่อเกิดแล้ว ต้องมีเสื่อมและดับไป(อนัตตา) ดังนั้นสื่งที่เราควรรู้ในข้อของทุกข์คือ ความทุกข์ที่แท้จริง(ทุกข์ขัง อริยสัจจัง) ก็คือ การเกิด การแก่ การเจ็บ การตาย การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก สิ่งเหล่านี้คือปฐมเทศนาท.. ดูเพิ่ม
การแก้กรรม ตามคำพระพุทธเจ้า แก้ได้จริง!!
... โลก ย่อมเป็นไปตามกรรมหมู่สัตว์ ย่อมเป็นไปตามกรรมสัตว์ทั้งหลาย มีกรรมเป็นเครื่องรึงรัดเหมือนลิ่มสลักขันยึดรถที่กำลังแล่นไปอยู่. สัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้มีกรรมเป็นของตนเป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิดมีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัยกระทำกรรมใดไว้ ดีก็ตาม ชั่วก็ตามจักเป็นผู้รับผลกรรมนั้น.-บาลี สุ. ขุ. ๒๕/๔๕๗/๓๘๒. , -บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๓๐๙/๑๙๓. ภิกษุทั้งหลาย ! เรากล่าวซึ่งเจตนา ว่าเป็นกรร.. ดูเพิ่ม
พระพุทธเจ้า ทรงปลงผมเหมือนเหล่าสาวก หรือไม่!!
พระไตรปิฎก ภาษาไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต หน้าที่ ๒๗๐/๔๑๘ข้อที่ ๓๐๖ "ภารทวาชพราหมณ์ก่อไฟแล้วตกแต่งของที่ควรบูชา อยู่ในนิเวศน์ ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาค เสด็จเที่ยวบิณฑบาตตามลำดับตรอก ในพระนครสาวัตถี เสด็จเข้าไปยังนิเวศน์ของอัคคิก ภารทวาชพราหมณ์ อัคคิกภารทวาชพราหมณ์ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเสด็จมาแต่ไกลทีเดียวครั้น แล้วได้.. ดูเพิ่ม
๑๐ พระสูตรของความสำคัญที่ชาวพุทธต้องศึกษา แต่คำสอนจากพระพุทธเจ้าเท่านั้น
ผ่านมา ๒,๕๐๐ กว่าปีคำสอนทางพระพุทธศาสนาเกิดความหลากหลายมากขึ้นมีสำนักต่างๆ มากมาย ซึ่งแต่ละหมู่คณะก็มีความเห็นของตนหามาตรฐานไม่ได้ แม้จะกล่าวในเรื่องเดียวกันทั้งนี้ไม่ใช่เพราะคำสอนของพระพุทธเจ้าไม่สมบูรณ์แล้วเราควรเชื่อและปฏิบัติตามใคร ?ลองพิจารณาหาคำตอบง่ายๆ ได้จาก ๑๐ พระสูตรซึ่งพระตถาคตทรงเตือนเอาไว้แล้วตรัสบอกวิธีป้องกันและแก้ไขเหตุเสื่อมแห่งธรรมเหล่านี้.ขอเชิญมาตอบตัวเองกันเถอะว่า ถึงเวลาแล้ว.. ดูเพิ่ม
พุทธวจน-เปิดธรรมที่ถูกปิด-เดรัจฉานวิชา
พุทธวจน-เปิดธรรมที่ถูกปิด-เดรัจฉานวิชาwww.watnapp.comwww.watnapahpong.orghttps://www.facebook.com/Buddhawajana.th ดูเพิ่ม
โอกาสในการเกิดเป็นมนุษย์นั้นยาก
พุทธวจน โอกาสในการเกิดเป็นมนุษย์นั้นยาก (พุทธวจน ภพภูมิ มหาวาร. ๑๙/๕๖๘/๑๗๔๔.) ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าสมมติว่า มหาปฐพีอันใหญ่หลวงนี้ มีน้ำท่วมถึงเป็นอันเดียวกันทั้งหมด บุรุษคนหนึ่งทิ้งแอก ซึ่งมีรูเจาะได้เพียงรูเดียว ลงไปในน้ำนั้น ลมตะวันออกพัดให้ลอยไปทางทิศตะวันตก ลมตะวันตกพัดให้ลอยไปทางทิศตะวันออก ลมทิศเหนือพัดให้ลอยไปทางทิศใต้ ลมทิศใต้พัดให้ลอยไปทางทิศเหนือ อยู่ดังนี้ ในน้ำนั้นมีเต่าตาบอดตัวหนึ่ง ล่ว.. ดูเพิ่ม
การตอบแทนคุณมารดาบิดาอย่างสูงสุด
ภิกษุ ท. ! เรากล่าวการกระทำตอบแทนไม่ได้ง่ายแก่ท่านทั้งสอง. ท่านทั้งสอง คือใคร ?คือ มารดา ๑ บิดา ๑ภิกษุ ท. ! บุตรพึงประคับประคองมารดาด้วย บ่าข้างหนึ่ง พึงประคับประคองบิดาด้วยบ่าข้างหนึ่ง เขามีอายุ มีชีวิตอยู่ตลอดร้อยปี และเขาพึงปฏิบัติท่านทั้งสองนั้นด้วยการอบกลิ่น การนวด การให้อาบน้ำ และการดัด และท่านทั้งสองนั้น พึงถ่ายอุจจาระปัสสาวะบนบ่าทั้งสองของเขา นั่นแหละ. ภิกษุ ท.! การกระทำอย่างนั้นยังไม่ชื่.. ดูเพิ่ม