หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม แต่งรูป คำคม Glitter สเปซ ไดอารี่ เกมถอดรหัสภาพ เกม วิดีโอ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ

นิทานเวตาล

นิทานเวตาลเรื่องที่ 26 ถูกเล่าเป็นภาพยนตร์แอ็คชั่นเข้มข้นซับซ้อนสุดระทึกโดยบอลลีวูด ชื่อ วิกรรมเวตา VIKRAM VEDHA รวมรีวิวไม่สปอยล์จุดสำคัญ
โพสท์นี้มี 4 รีวิวครับ ของพี่โอ๋นิติเทพ มาเป็นคลิป อีก 3 รีวิวเป็นของน้องๆ ที่ให้เกียรติมาร่วมชมด้วยกันในรอบแฟนคลับ Juntrathip Nuntala · Vikram Vedha (2022) หนังอินเดีย ที่สนุกเกินคาดมากๆ เอาแค่ฉากบู๊แอคชั่นหนังฮอลลีวูดบางเรื่องยังอาย แม้ว่าจะเว่อร์วังไปหน่อย ยังไม่นับเรื่องการเล่าเรื่องการดำเนินเรื่องการลำดับภาพโคตรดี หนังพูดถึงเรื่องคนดี คนเลว โดย ผ่านมุมมองของตัวเอกทั้งสองฝั่ง ฝั่งหนึ่ง.. ดูเพิ่ม
นิทานเวตาลเรื่องที่ 7 พระเจ้าจัณฑสิงห์กับสัตตวศีลผู้ซื่อสัตย์
เรื่องที่ 7 พระเจ้าจัณฑสิงห์กับสัตตวศีลผู้ซื่อสัตย์ พระราชาตริวิกรมเสนเสด็จกลับไปยังต้นอโศก เห็นเวตาลอยู่ที่นั่น ก็จับมันเหวี่ยงขึ้นบ่า แล้วเดินทางกลับไปทางเดิม ระหว่างที่เดินทางมาเงียบ ๆ เวตาลก็กล่าวขึ้นว่า "อารยบุตรโปรดฟังหน่อย ข้ามีนิทานเรื่องหนึ่งจะเล่าให้พระองค์ฟัง เผื่อพระองค์จะได้คลายความเหน็ดเหนื่อยลงบ้าง" มีเมืองเมืองหนึ่งตั้งอยู่บนฝั่งทะเลตะวันออกชื่อ เมืองตามรลิปติ นครแห่งนั้นมีพระราชา.. ดูเพิ่ม
นิทานเวตาลเรื่องที่ 2 นางมันทารวดีกับพราหมณ์หนุ่ม 3 คน
เรื่องที่ 2 นางมันทารวดีกับพราหมณ์หนุ่ม 3 คน พระราชาตริวิกรมเสนเสด็จกลับไปที่ต้นอโศกอีกครั้งหนึ่งเพื่อจับตัวเวตาล เมื่อเสด็จไปถึงที่นั้น ทรงสอดส่ายพระเนตรดูโดยรอบในความมืดอันมีแสงไฟเรือง ๆ จากจิตกาธานส่องมา ในที่สุดก็พบศพนั้นนอนหงายอยู่บนพื้นดินกำลังกรนอยู่ จึงเข้าไปจับตัวศพนั้นซึ่งมีเวตาลสิงอยู่ตวัดขึ้นบนบ่า และรีบดำเนินไปอย่างรวดเร็วเพื่อไปยังที่ซึ่งนัดไว้กับโยคีศานติศีล เวตาลซึ่งแขวนอยู่บนบ่าก.. ดูเพิ่ม
นิทานเวตาล
นิทานเวตาล นิทานเวตาล เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ เรื่อง เวตาลปัญจวิงศติ หรือนิทานเวตาล 25 เรื่อง ซึ่งถูกเล่าโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว เดิมนิทานเวตาลได้เรียบเรียงเป็นร้อยกรอง ชื่อ ลิลิตเพชรมงกุฎ โดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) แต่ถอดมาเพียงเรื่องแรกเท่านั้น ในภายหลังพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (พระบวรวงษ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส) หรือ น.ม.ส. ได้ทรงแปลจากฉ.. ดูเพิ่ม