นาฏศิลป์ไทย
เกิดเป็นกะเทยไฉนเลยถูกกีดกันทุกทาง
🏳️🌈🇹🇭 Hello Pride Month สวัสดีสัปดาห์สุดท้ายของเดือนแห่งความหลากหลาย ขอส่งความปราถนาดีไปยังทุกท่าน ทุกเพศ ทุกวัย ขอให้ทุกท่านมีพลังชีวิตที่ดี มีแต่พลังบวกเข้ามา และที่สำคัญอยากให้ทุกคนจำไว้ว่า การได้เป็นตัวเอง ในแบบที่เราเป็น ไม่ว่าจะเพศใด รสนิยมแบบไหน จะหน้าตาแบบใด อ้วน ผอม ขาว ดำ สูงหรือเตี้ย การได้เป็นตัวเองมันคือสิ่งที่มีคุณค่าที่สุด และขอแสดงความยินดีในวาระที่ร่างกฏหมายสมรสเท่าเทียมผ่าน.. ดูเพิ่ม
สยายปีกกลับไกรลาส ปิดตำนาน 68 ปี นางมโนห์ราบูชายัญคนแรก
นับเป็นการสูญเสียที่ยิ่งใหญ่อีกครั้งสำหรับวงการนาฏศิลป์ไทย หลังจากแม่แหง่ คุณครูบุนนาค ทรรทรานนท์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการแสดงนาฏศิลป์ไทย เจ้าของฉายา นางเอกของนางเอก แห่งกรมศิลปากร และ มโนห์ราบูชายัญคนแรกของเมืองไทย ได้จากไปอย่างสงบในวัย 83 ปี โดยมีผู้ที่อยู่ดูแลใกล้ชิดได้ยืนยันถึงการถึงแก่อนิจกรรมของแม่แหง่ คุณครูบุนนาค ทรรทรานนท์ ตั้งแต่ช่วงเช้ามืดของวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2566 ที่ผ่านมา หลังจากที่คุณ.. ดูเพิ่ม
เฉลยแล้ว หุ่นนางรำในตู้คือใคร
หากพูดถึงนาฏศิลป์ไทย ดนตรีไทย หลายคนก็คงไม่พ้นที่จะนึกไปถึงเรื่องผีสาง สิ่งลี้ลับ อาถรรพ์ ดวงวิญญาณครูบาอาจารย์ต่าง ๆ ตามแต่จะเคยได้ฟังได้เห็นกันมา แต่หลายครั้งที่เรื่องราวเหล่านั้นกลับเป็นแค่เรื่องปั้นเสริมเติมแต่งขึ้นมาจากจินตนาและความไม่รู้จนเกินจริง อย่างเช่นหุ่นละครตัวพระ ตัวนาง ในตู้กระจก ที่ตั้งอยู่หน้าลานมรกต ณ ตึกอำนวยการ ภายในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ หรือวิทยาลัยนาฏศิลป วังหน้า ซึ่งนักศึกษ.. ดูเพิ่ม
"ฟ้อนขันดอก" การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ
ฟ้อนขันดอก อีกหนึ่งศิลปะการรำของนาฏศิลป์ล้านนา เอกลักษณ์ที่โดดเด่นของการฟ้อนชนิดนี้คือ การถือพานไม้ด้านในพานจะใส่ดอกไม้นานาชนิด โดยส่วนใหญ่จะเป็นดอกไม้เพื่อตบแต่งบูชา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ การแสดงชุด “ฟ้อนขันดอก” เป็นการแสดงที่พ่อครูมานพ ยาระนะ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ปี พ.ศ. 2548 เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าขึ้น โดยมีจุดประสงค์ในการแสดงเพื่อเป็นการฟ้อนรำต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง .. ดูเพิ่ม
วิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
สมัยสุโขทัย การแสดงระบำ รำ ฟ้อน ที่พัฒนามาจากการละเล่นของชาวบ้าน สมัยอยุธยา การแสดงระบำ รำ ฟ้อน ได้ถูกพัฒนาขึ้นและนำมาใช้แสดงในรูปแบบของละคร ทำให้เกิดละครรำต่างๆ สมัยธนบุรี ทรงส่งเสริมฟื้นฟูการละครขึ้นใหม่และรวบรวมศิลปินตลอดทั้งหมดละครเก่าๆที่กระจัดกระจายไปให้มาอยู่รวมกัน ทำให้มีคณะละครหลวงและละครเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง สมัยรัตนโกสินทร์ เกิดการประดิษฐ์ท่ารำต่างๆ ที่พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากสมัยอยุธยา รัชก.. ดูเพิ่ม
อลังการนาฏกรรม “ระบำอัปสราบุรีรัมย์” ณ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์
"อัปสราบุรีรัมย์" ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง ประจำปี 2564 วันที่ 3 เมษายน 2564 ณ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ ปรากฏการณ์พระอาทิตย์ 15 ช่องประตูปราสาทพนมรุ้ง ประกอบพิธีบวงสรวง ชมการรำบวงสรวง ชุด “ศรัทธามหาศิวะ” จากนางรำลูกหลานชาวบุรีรัมย์ กว่า 500 คน ชมขบวนแห่สัตว์พาหนะผู้พิทักษ์ประจำทิศทั้ง 10 และขบวนเสด็จพระนางภูปตินทรลักษมีเทวี “น้ำตาล พิจักขณา วงศารัตนศิลป์” ก.. ดูเพิ่ม