หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ

นางในวรรณคดี

นางในฝัน
• ชำเลืองลอง......มองนาง ช่างงามงดจรัสจด......เพียบพร้อม พะยอมหวานผมยาวดก......แก้มปริ่ม ยามยิ้ม "ปาน-จะหักหาญ"......"หัวใจพี่" ให้รวนเร...ฯ • ยิ่งดูล้ำ......คำนาง ที่พรางเผยช่างหวานเย้ย......"ดินหวั่น ฟ้าหันเห"หากใครได้......เอื้อนเอ่ย ถ้อยเปรยเปมีหลงเซ......ใจถลำ ถ้อยคำนาง...ฯ • จะหาใด......หญิงนั้น ที่ฝันใฝ่ที่ "มีใจ"......เคียงมั่น ไม่ฝันร้างไม่ปล่อยปละ......ละไว้ ในเส้นทางจะ ".. ดูเพิ่ม
10 นางในวรรณคดีที่มีชะตาแสนอาภัพ
หลายท่านที่เคยอ่านมุขปาฐะ วรรณคดี หรือ ดูละครพื้นบ้าน ท่านคงได้สัมผัสกับนางในวรรณคดีหลายนางที่ต้องเผชิญความยากลำบาก การกลั่นแกล้ง และต้องพิสูจน์ตัวตนด้วยความดีงามจนได้สมหวัง แต่หลายนางก็มิอาจสมหวังจนนำไปสู่ชะตากรรมอันเลวร้าย นางในวรรณคดีเหล่านั้นมีใครกันบ้างมาฟังกันนะคะ ภาพนางในวรรณคดีบางส่วน นางในวรรณคดีใช้ตัวละครจาก The sims แล้วนำมาใส่ชุดไทยเอาค่ะ ดูเพิ่ม
ตำนานรัก นางศกุนตลา และ พระราชาทุศยันตร์
(เครดิตภาพ : กูเกิล) บทชมโฉม นางศกุนตลา นี่ฤๅบุตรีพระดาบส งามหมดหาใครจะเปรียบได้ อนิจจาบิดาท่านแสร้งใช้ มารดต้นไม้พรวนดิน ดูผิวสินวลละอองอ่อน มะลิซ้อนดูดำไปหมดสิ้น สองเนตรงามกว่ามฤคิน นางนี้เป็นปิ่นโลกา งามโอษฐ์ดังใบไม้อ่อน งามกรดังลายเลขา งามรูปเลอสรรขวัญฟ้า งามยิ่งบุปผาเบ่งบาน ควรฤๅมานุ่งคากรอง ควรแต่เครื่องทองไพศาล ควรแต่เป็นยอดนงคราญ คู่ผู้ผ่านแผ่นไผท เรียบเรียงโดย บรามี สำหรับเรืองรัก โรแมนต.. ดูเพิ่ม
นางในวรรณคดี "ศกุนตลา"
ศ กุ น ต ล า... พระราชนิพนธ์......... ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทละครรำ เมื่อ พ.ศ.2455 โดยนำเนื้อเรื่องมาจากวรรณคดีอินเดีย ซึ่งกาลิทาสรัตนกวี ของอินเดียเป็นผู้ประพันธ์ขึ้น พระองค์ทรงมีกลวิธีการประพันธ์ที่มีบทพากษ์และ บทเจรจาแทรกไว้ด้วย อันเป็นรูปแบบใหม่ที่แตกต่างไปจากบทละครรำของไทยในอดีต "ศกุนตลา" ...เป็นเรื่องแทรกอยู่ในมหากา.. ดูเพิ่ม
นางในวรรณคดี "ทมยันตี" จากเรื่อง "พระนลคำหลวง"
"พระนลคำหลวง" เป็นวรรณคดีไทยที่ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๖ พระนิพนธ์ขึ้นซึ่งได้เค้าเรื่องมาจากมหากาพย์ “มหาภารตะ”ของอินเดีย ส่วน "พระนลคำฉันท์" นั้นเป็นพระนิพนธ์ของ "กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์" (อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/505356) เรื่อง "พระนลคำหลวง" นี้ทำให้ “นางทมยันตี” (ทะมะยันตี) ได้รับการยกย่องและเป็น “สัญลักษณ์”ของสตรีที่มีความซื่อสัตย์และจงรักภักดีต่อสา.. ดูเพิ่ม