ตำลึง
“ตำลึง” ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ ได้จริงหรือไม่
แต่เดิมนั้นตำลึงเป็นผักพื้นบ้านที่ขึ้นเองเลื้อยตามรั้วหรือตามพุ่มไม้อื่น แต่ปัจจุบันมีการปลูกเก็บยอดเพื่อบริโภคและการค้า โดยทั่วไปจะให้ผลผลิตมากในฤดูฝน แต่ในช่วงอื่นของปีตำลึงไม่ค่อยแตกยอดใหม่ทำให้ผลผลิตผักตำลึงมีน้อยและใบค่อนข้างแก่ การศึกษาปัจจัยทางกายภาพที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางลำต้นและการผลิตยอดใหม่เพื่อกระตุ้นให้มีการแตกยอดได้ตลอดปี ลักษณะทางพฤษศาสตร์ ตำลึงจัดเป็นพืชในตระกูลไม้เลื้อย มีใบ.. ดูเพิ่ม
กะทกรก
กะทกรก มองเผินๆบางคนเคยเห็น แต่ไม่รู้จักก็คิดว่าวัชพืช แต่จริงๆแล้ว"กะทกรก"หรือมีชื่อตามท้องถิ่นบางพื้นที่"ตำลึงทอง"มีขึ้นให้เห็นได้ทั่วไปตามสวน ท้องไร่ท้องนา ต้นเป็นเถาคล้ายตำลึงแต่มีขน เมื่อเด็ดใบมาขยี้จะมีกลิ่นฉุนแรง แพร่ขยายพันธุ์ได้ง่ายด้วยเมล็ดเมื่อเริมติดผล ผลดิบจะมีรกขนสีเขียวห่อหุ้มเวลาผลสุกรกห่อหุ้มจะเริ่มแห้งและผลจะเปลี่ยนส้มหรือสีเหลือง ซึ่งเป็นอาหารโปรดของเหล่านกปรอดต่างๆ ประโยชน์และ.. ดูเพิ่ม
ตำลึง ผักริมรั้ว
ตำลึง ผักริมรั้ว นามนี้เชื่อว่าใครๆ ก็รู้จัก ตำลึง ภาษาอังกฤษ เรียก Ivy gourd ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Coccinia grandis (L.) Voigt ชื่อเรียกอื่นๆ คือ สี่บาท ผักแคบ ผักตำนิน แคเด๊าะ เป็นต้น ตำลึง เป็นเถาเลื้อย เกาะตามหลักหรือต้นไม้ต่างๆ ใบคล้ายรูปหัวใจ เมื่อใบอ่อนจะมีสีเขียวอ่อน เมื่อใบแก่จะมีสีเขียวเข้ม ส่วนดอกตำลึงจะมีสีขาวคล้ายรูประฆัง ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด ผลอ่อน ของตำลึง กินกับน้ำพริก หรือดองกิ.. ดูเพิ่ม
เงินตราในสมัยราชวงศ์ชิงเป็นอย่างไร?
วันนี้จะนำทุกคนมาพบกับเงินตราในสมัยราชวงศ์ชิง มาดูกันว่าเป็นอย่างไรเหมือนในซีรีย์จีนโบราณที่เราดูกันหรือเปล่า? ทุกคนต้องเคยดูซีรีย์จีนโบราณ และมีฉากที่ตัวละครนำเงินออกมาจ่าย แน่นอนว่าเราจะเห็นเงินในซีรี่ย์มีลักษณะเหมือนก้อนหินธรรมดาๆ ก้อนหนึ่งเท่านั้น แต่ความเป็นจริงเงินตำลึงมีใช้ทั่วไปในสมัยจีนโบราณ ซึ่งเทียบได้กับเงินเหรียญ เงินธนบัตรที่มีใช้หมุนเวียนอยู่ในปัจจุบัน เงินเหล่านั้นมีค่ามากกว่าเหรีย.. ดูเพิ่ม
ตำลึง ประโยชน์ดีๆ สรรพคุณเด่นๆ และข้อมูลงานวิจัย
ตำลึง ชื่อสมุนไพร ตำลึงชื่ออื่นๆ/ชื่อท้องถิ่น ผักแคบ(ภาคเหนือ),ผักตำนิน(ภาคอีสาน),แคเด๊าะ(กะเหรี่ยง)ชื่อวิทยาศาสตร์ Coccinia grandis (L.) Voigt.ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Coccinia indica Wight & Arn. , Coccinia cordifolia (L.) Cogn.ชื่อสามัญ Ivy gourdวงศ์ CUCURBITACEAE ถิ่นกำเนิดตำลึง มีการสันนิษฐานว่าถิ่นกำเนิดดั้งเดิมของตำลึงนั้นอยู่แถบคาบสมุทรมาเลเซียและอินโดจีน เช่น ประเทศไทย , กัมพูชา , พม่า , เ.. ดูเพิ่ม
"ตำลึง" มีทั้งตัวผู้และตัวเมีย ดูให้ดีเลือกผิด ลูกกินอาจท้องเสียได้
ตำลึง เป็นผักที่สามารถหารับประทานได้ง่าย เนื่องจากเป็นพืชที่สามารถขยายพันธุ์ได้จากการที่นกกินผลตำลึงเข้าไปแล้วขับถ่ายเป็นเมล็ดออกมา ซึ่งมันจะเจริญเติบโตและแตกยอดได้ดีในช่วงฤดูฝน ตำลึง นั้นอุดมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายสูง อาทิ สารเบต้าแคโรทีน ที่ช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็งและโรคหัวใจขาดเลือด มีแคลเซียมที่ช่วยบำรุงกระดูกและฟัน อีกทั้งยังมีฟอสฟอรัส เหล็ก ไนอาซิน วิตามิน และสารอาหารอื่นๆ .. ดูเพิ่ม
ตำลึง (Ivy Gourd)
ตำลึง เป็นผักพื้นบ้านหากินได้ทุกหัวระแหง ถ้าสังเกตให้ดี จะเห็นตำลึง ขึ้นพันไม้อื่น หรือไม่ก็ขึ้นตาม ริมรั้วจะเรียกผักริมรั้วก็คงไม่ผิด ปกติบ้านใครมีที่มีทาง ก็แทบไม่ต้องซื้อหาให้เปลือง แต่ถ้าอยู่ในเมืองลอง ไปเมียงๆมองๆแถว ตลาดสด หรือตลาด ติดแอร์ดูเถอะ รับรองไม่ผิดหวัง ตำลึงมีคุณค่า ทางอาหารสูงมาก และที่เห็นจะถูกใจ คนรักสุขภาพแน่ ๆ ก็คือ ตำลึงมีเบต้าแคโรทีน ที่ช่วยลดอัตรา เสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง .. ดูเพิ่ม
6 ผักสมุนไพรไทย ต้านเบาหวาน
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ชู 6 ผักสมุนไพรไทยใกล้ตัว ช่วยลดน้ำตาลในเลือดและต้านโรคเบาหวาน อันได้แก่ ตำลึง มะระขี้นก วุ้นว่านหางจระเข้ กะเพรา ใบหม่อน และใบบัวบก ในขณะที่ทั่วโลกมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 285 ล้านคน และคาดการณ์ว่าอีก 20 ปีข้างหน้า จะเพิ่มขึ้นเป็น 438 ล้านคน โดยที่ผู้ป่วย 4 ใน 5 เป็นชาวเอเชีย สำหรับประเทศไทย จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข ในปี 2553 พบว่ามีผู้เสียชีวิตจากโรคเบา.. ดูเพิ่ม