หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม แต่งรูป คำคม Glitter สเปซ ไดอารี่ เกมถอดรหัสภาพ เกม วิดีโอ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ

ชำระหนี้

เงินกู้ในประเทศไทยใครเป็นเจ้าหนี้?
หนี้ในประเทศ ใครเป็นเจ้าหนี้ มาต่อที่หนี้ในประเทศ ซึ่งเป็นหนี้ส่วนใหญ่ คิดเป็น 98.14 เปอร์เซ็นต์ของหนี้สาธารณะทั้งหมด พอเปลี่ยนมาพูดถึงหนี้ภายในประเทศ เราจะเจอคำเรียกที่มาของเงินกู้ไม่เหมือนที่มาของเงินกู้จากต่างประเทศ นั่นคือจะไม่ค่อยได้ยินคำว่า ‘แหล่งเงินกู้’ แต่จะได้ยินคำว่า ‘เครื่องมือการกู้’ มาแทน ซึ่งมีเหตุผลของการใช้คำอยู่ การกู้เงินภายในประเทศมีเครื่องมือการกู้ คือ.. ดูเพิ่ม
ปี 62 กยศ.เตรียมหักเงินเดือนตรง จากนายจ้างของผู้ที่ไม่ชำระหนี้...
ปี 62 กยศ.เตรียมหักเงินเดือนตรง จากนายจ้างของผู้ที่ไม่ชำระหนี้... ทางด้านผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากที่ กยศ.เริ่มนำร่องหักเงินลูกหนี้ กยศ.ในส่วนของกรมบัญชีกลางไปแล้วนั้น ในเดือนตุลาคมนี้ สามารถหักเงินกู้ยืมของบุคลากรหน่วยงานราชการ และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น อปท. ได้ โดยที่ในช่วงต้นปี 2562 จะเริ่มใช้ระบบหักเงินเดือนตรงจากนายจ้างในกลุ่มภาคเอกชน ที่มีพนักงาน.. ดูเพิ่ม
เกร็ดน่ารู้ เรื่องหนี้สิน ตามแนวทางอิสลาม
ในการดำเนินชีวิตของคนทุกคน ย่อมมีเรื่องเกี่ยวกับทรัพย์สิน อิสลามให้ความสำคัญในเรื่องทรัพย์สินเป็นอย่างมาก โดยมีคำสอนว่า ทรัพย์สินของแต่ละคนจะต้องถูกสอบสวนว่าได้มาอย่างไร และใช้จ่ายไปอย่างไร นอกจากนี้ อิสลามยังถือว่าเรื่องทรัพย์สินเป็นสิทธิของแต่ละบุคคล จะล่วงละเมิดกันไม่ได้ ดังนั้น อิสลามจึงมีคำสอนเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยน, การซื้อขาย, การกู้ยืม, การจำนำ ฯลฯ เพื่อให้เกิดความถูกต้องและเป็นธรรม เมื่อใ.. ดูเพิ่ม
รู้หรือไม่ ? นำเหรียญบาทไปชำระหนี้ได้ไม่เกิน 500 บาท
ใคร ที่ชอบ "ทุบกระปุก" ไปซื้อโน่นซื้อนี่ โดยเฉพาะสินค้าชิ้นใหญ่ ๆ ราคาหลักร้อย หลักพัน แล้วหอบเงินเหรียญ ไม่ว่าจะเป็นเหรียญสตางค์เหรียญบาท เหรียญห้าบาท เหรียญสิบบาท กะว่าจะจ่ายง่าย ๆ โดยที่คิดว่าร้านค้านั้น "จำเป็นต้องรับ" เงินของเราตามที่หลาย ๆ คนเข้าใจ จำเป็นต้องเข้าใจเสียใหม่แล้วนะครับ เพราะเงินเหรียญต่าง ๆ นั้นแม้จะ "สามารถใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย" แต่ก็มีระเบียบบังคับให้เรานำมาปฎิบัติอยู่ด้วย.. ดูเพิ่ม