การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ที่สร้างผลกระทบไปทั่วโลก
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สร้างผลกระทบมากมาย ทั้งธรรมชาติไปจนถึงสิ่งมีชีวิตบนโลกอย่างต่อเนื่อง มาหาวิธีรับมือ พร้อมสาเหตุของภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้ที่นี่! เมื่อ 20 ปีก่อน การจะพูดถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่มีสาเหตุหลากหลาย ทำให้โลกร้อน มักจะเป็นสิ่งไกลตัวเกินกว่าจะเข้าใจ พอเรายังไม่ได้มีรูปธรรมให้เห็นชัดเจน แต่ในปัจจุบัน สภาพอากาศ มลภาวะ ภัยจากธรรมชาติที่เกิดขึ้น ก่อผลมาถึงตัวเราชัดเจนขึ.. ดูเพิ่ม
เอลนีโญรุนแรงขึ้น
เอลนีโญรุนแรงขึ้น ฤดูหนาวมาช้า-น้ำจืดจ่อแห้งหมดซีกโลกใต้ ดร.คริส คอลลินส์ นักวิทยาศาสตร์ด้านภูมิอากาศจากมหาวิทยาลัยแอดิเลด ประเทศออสเตรเลีย เผยแพร่บทความในเว็บไซต์ The Conversation ระบุว่าปรากฏการณ์เอลนีโญที่รุนแรงขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ส่งผลให้ปริมาณน้ำจืดในแถบซีกโลกใต้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ โดยปริมาณน้ำจืดที่หายไปนั้นคิดเป็น 10% ของปริมาณน้ำจืดที่ใช้เพื่อการดำรงชีวิตในแถบซีกโลกใต้ ดร.คอลลินส์.. ดูเพิ่ม
ดอกไม้บานในแอนตาร์กติกาส่งสัญญาณอะไร?
ดอกไม้บานสะพรั่งในแอนตาร์กติกา ขอบคุณภาพจากhttps://amikamoda.ru/th ผมเพิ่งได้ดูภาพดอกไม้บานสะพรั่งในแอนตาร์กติกา รู้สึกแปลกใจมาก เพราะแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวเย็นที่สุดในโลก โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่า -50 องศาเซลเซียส พืชพรรณส่วนใหญ่ในแอนตาร์กติกาจึงมีขนาดเล็กและทนต่อสภาพอากาศหนาวเย็นได้ เช่น มอส ไลเคน และสาหร่าย สาเหตุที่ดอกไม้ในแอนตาร์กติกาเริ่มบานมากขึ้นนั้น สันนิษฐานว่าเป็นผลมาจากการเปลี่ย.. ดูเพิ่ม
🌞 เพราะสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย 🌙
🌞 เพราะสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย 🌙 🙏🏻 สวัสดีค่ะเพื่อนๆ ทุกคนวันนี้แม่หญิงซากุระ เอาภาพน่าสนใจๆ มาฝากอีกเช่นเคยค่ะ 😊 สภาพอากาศมีผลต่อการดำเนินชีวิตของทุกสิ่งในโลกใบนี้ไม่ว่าจะเป็นสิ่งใดก็ตาม หากมีสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนก็อาจจะทำให้เราพบอุปสรรคหรืออาจจะทำให้เราโชคดีแต่ละเหตุการณ์จะเป็นบวกหรือจะเป็นลบ ภาพต่อไปนี้แบ่งปันกันในโลกโซเชี่ยลแสดงให้เห็นเป็นอย่างดีถึงสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปมีผลอันใดบ้าง.. ดูเพิ่ม
เที่ยวภาคใต้ช่วงไหนได้บ้างครับ
ภาคใต้จะฝนตกชุกตลอดทั้งปีและน้ำท่วมก็บ่อย แต่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุด สถานที่ท่องเที่ยวมีชื่อเสียงและสวยงามระดับโลก แน่นอนต้องขึ้นชื่อเรื่องทะเล รวมถึงเกาะต่างๆ บนบกก็มีอะไรให้ชื่นชมไม่แพ้กัน ภาคใต้มีหลายจังหวัดมีสถานที่ท่องเที่ยวที่หลากหลาย ส่วนชายแดนใต้ไม่แน่ใจเรื่องความปลอดภัย(จากปัญหาก่อความไม่สงบ) อยากทราบว่าเราควรจะเตรียมตัวอย่างไร เดินทางโดยสารไปด้วยอะไร ไปช่วงเดือนไหนถึงเดือนไหนที่ไม่มีมรสุ.. ดูเพิ่ม
บทความนี้จะเปลี่ยนความคิดคุณที่มีต่อพลาสติก
บทความ โดย Kelly Huang คุณได้ดูวีดีโอ “เรื่องราวของช้อนพลาสติก” แล้วหรือยัง? เพราะในยุคปัจจุบัน ความสะดวกสบายต้องมาก่อนเป็นอย่างแรก พวกเราจึงได้ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ที่ทำจากพลาสติกซึ่งง่ายต่อการซื้อหาและง่ายต่อการโยนทิ้ง ปัญหาคือ พลาสติกที่เราโยนทิ้งไปนั้นไม่ได้ไปไหนไกล ขยะพลาสติกส่วนใหญ่จะถูกพบได้ในมหาสมุทร ที่ซึ่งขยะพลาสติกเหล่านี้ได้แตกตัวเป็นชิ้นเล็กๆ และสร้างความเข้าใจผิดให้กับสัต.. ดูเพิ่ม
ข้อคิดเห็น: อะไรคือเบื้องหลังความเฟื่องฟูของพลังงานหมุนเวียนในประเทศจีน
บทความ โดย Erin Newport © Greenpeace / Zhiyong Fu อุตสาหกรรมพลังงานลมและแสงอาทิตย์ของประเทศจีนนั้นถูกวางโครงการไว้ว่าจะขยายตัวเพิ่ม 5 เท่า ภายในปี 2573 โดยจะแทนที่แหล่งพลังงานฟอสซิลเทียบเท่ากับประมาณ 300 ล้านตันของมาตรฐานปริมาณถ่านหิน และจะสามารถประหยัดน้ำได้มากเทียบเท่ากับความต้องการของคน 200 ล้านคน ตามรายงานล่าสุด แต่กระนั้นการเปลี่ยนผ่านทางด้านพลังงานของจีนยังคงไม่สิ้นสุด ปริมาณการใช้พลังง.. ดูเพิ่ม
10 ภาพ ก่อนและหลัง การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์
บทความ โดย Rashini Suriyaarachchi บ่อยครั้งที่การเปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ นั้นยากที่จะมองเห็น แม้ว่าเรากำลังเปลี่ยนแปลงโลกอย่างใหญ่หลวง ไม่ว่าจะเป็นการตัดไม้ทำลายป่า การทำอุตสาหกรรม การขุดเจาะและใช้งานเชื้อเพลิงฟอสซิล แต่ก็ยังยากที่เราจะเห็นว่ารอยแผลเป็นที่เราทิ้งไว้ให้โลกใบนี้นั้นใหญ่ขนาดไหน และเมื่อคุณลองขยายภาพให้ใหญ่ขึ้นคุณก็จะเห็นการเปลี่ยนแปลง หลายทศวรรษที่องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ.. ดูเพิ่ม
ความหวังในความแล้ง: ชุมชนต้นน้ำน่าน อีกหนึ่งคำตอบสำหรับปัญหาเขาหัวโล้น
เขียน โดย รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ ปัญหาเขาหัวโล้นของน่านไม่ใช่ปัญหาของคนในพื้นที่เท่านั้น แต่เป็นปัญหาของประเทศ ภาพภูเขาของน่านที่กลายเป็นผืนดินสีน้ำตาลอันว่างเปล่าสุดลูกหูลูกตาเป็นภาพที่ทำให้เราทุกคนสะเทือนใจ ไม่เพียงแค่ป่าจำนวนมหาศาลที่หายไปเท่านั้น แต่นี่คือภาพสะท้อนของความล้มเหลวในการจัดการดูแลป่าไม้จากการทำเกษตรกรรมพืชเชิงเดี่ยว ที่มุ่งเน้นผลผลิตจำนวนมากเพื่อป้อนอุตสาหกรรม โดยไม่คำนึงถึงความ.. ดูเพิ่ม
ความรุนแรงของภาวะโลกร้อนที่พบได้จากปรากฏการณ์เอลนีโญ
เขียน โดย แอรอน เกรย์-บล็อค ปรากฎการณ์เอลนีโญในปีที่ผ่านมาส่งผลให้เกิดพายุเฮอริเคนแพทริเซียที่ใหญ่ที่สุดซึ่งทำลายสถิติที่เคยบันทึกไว้ พายุลูกดังกล่าวอาจสร้างความเสียหายต่อป่าพรุและทำให้เกิดไฟป่าที่เลวร้ายที่สุดอย่างกระทันหันในอินโดนีเซียซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจเป็นเพียงแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น พายุเฮอริเคนแพทริเซียเคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝั่งแปซิฟิกของเม็กซิโก [ตุลาคม พ.ศ. 2558] โลกเผชิญกับปรากฎการณ์เอ.. ดูเพิ่ม
ทึ่ง!!! สถิติสภาพอากาศปีนี้ 2559 ร้อนหนักมาก!!!
มาดูแลตัวเองกันค่ะ ดูเพิ่ม
พลังงานหมุนเวียน : ทางเลือกอันชาญฉลาดต่อวิกฤตพลังงานในยุโรปตอนใต้
เขียน โดย Tina Peternel แปล โดย อัญมณี คันธะวงศ์ อาสาสมัครกรีนพีซในโครงการแปลเปลี่ยนโลก ฉันยังคงจดจำภาพของเหล่าอาสาสมัคร นักท่องเที่ยว และคนท้องถิ่น หลายร้อยชีวิตมุ่งหน้าไปยังชายหาดยอดนิยมต่างๆใน โครเอเชีย (Croatia) กรีซ (Greece) อิตาลี(Italy) และ สเปน (Spain) เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลของพวกเขาปกป้องจุดหมายปลายทางในวันหยุดของพวกเขาจากพลังงานสกปรกและใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ไม่เคยหมดไปจากประเทศ นั่นคือแส.. ดูเพิ่ม
สัมภาษณ์(ผู้เชี่ยวชาญ)หมีขั้วโลก
เขียน โดย Larissa Beumer มาร่วมกัน เรียนรู้เกี่ยวกับหมีขั้วโลกที่แสนมหัศจรรย์จากนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาหมีขั้วโลกมาหลายทศวรรษ Thor S. Larsen ผู้ริเริ่มการวิจัยหมีขั้วโลก เขาทำงานในสาขาวิชาการตั้งแต่ พ.ศ.2508 ที่ Norwegian Polar Institute จากนั้นเขาก็กลายเป็นสมาชิกของ สหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (IUCN) และเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเรื่องหมีขั้วโลก (Polar Bear Specialist) เมื่อ พ.ศ.2511 ถึง พ.. ดูเพิ่ม
[ภาพ] พรมแดนอาร์กติก : ธรรมชาติที่แสนอัศจรรย์แห่งดินแดนขั้วโลกเหนือ
เขียน โดย Angela Glienicke มหาสมุทรอาร์กติก คือมหาสมุทรที่แสนเปราะบางของขั้วโลกเหนือ ภาพเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายทางชีวภาพในภูมิภาคนั้น และทำให้อดคิดไม่ได้ว่า หากกองทัพอุตสาหกรรมประมงเดินหน้าไปทางขั้วโลกเหนือเพื่อใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทากทะเล นางฟ้าทะเลตัวใสแจ๋ว และนาร์วาลหรือยูนิคอร์นแห่งท้องทะเลจะอาศัยอยู่ที่ไหน นาร์วาลขณะกำลังเจาะแผ่นน้ำแข็ง © Glenn Williams / National Institute .. ดูเพิ่ม
2558 ปีที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นทั่วโลก
เขียน โดย รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ นักวิทยาศาสตร์ได้เผยว่าปี 2558 ที่ผ่านมา เป็นปีที่ร้อนที่สุดที่ได้รับการบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2423โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้น 0.9 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกก่อนยุคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นอีกครั้งที่สถิติของปีที่แล้วถูกทำลายไป ไม่ใช่เพียงแค่อากาศเท่านั้นที่ร้อนขึ้น อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่สูงขึ้นยังหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน.. ดูเพิ่ม